Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4590
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร | th_TH |
dc.contributor.author | เรวัธ จิตจง, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-17T04:04:43Z | - |
dc.date.available | 2023-03-17T04:04:43Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4590 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจต่อการบริการของระบบสารสนเทศบริหารจัดการอาชีวศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจต่อการบริการของระบบสารสนเทศบริหารจัดการอาชีวศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ ตามสถานะของกลุ่มผู้ใช้ และ (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบสารสนเทศบริหารจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ใช้งานระบบสารสนเทศบริหารจัดการอาชีวศึกษา จำนวน 322 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย ขนาดของกลุ่มตัวอย่างกำหนดโดยการใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน เครื่องมือรวบรวมข้อมูล คือแบบ สอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบต่อการบริการของระบบสารสนเทศบริหารจัดการอาชีวศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) การเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบสารสนเทศ บริหารจัดการอาชีวศึกษา จำแนกสถานะของผู้ใช้ ได้แก่ หัวหน้างาน เจ้าหน้าที่ ครู และนักเรียน นักศึกษาพบว่าผู้ใช้บริการที่มีสถานะแตกต่างกัน มีความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริการระบบสารสนเทศบริหารจัดการอาชีวศึกษาไม่แตกต่างกัน และ (3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาบริการของระบบสารสนเทศบริหารจัดการอาชีวศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ มีดังนี้ ควรมีคู่มีอการใช้งานของผู้ใช้งานแต่ละสถานะให้ละเอียด ชัดเจน ควรมีการพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ข้อมูลมีความทันสมัยและสามารถนำข้อมูลในระบบมาใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และควรเพิ่มข้อมูลการวัดผลประเมินผลของครูให้เป็นปัจจุบัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความพึงพอใจต่อการบริการระบบสารสนเทศบริหารจัดการอาชีวศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ | th_TH |
dc.title.alternative | Satisfaction with information system services on vocational management of Phrae Vocational College | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.name | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to investigate the satisfaction with information system services on vocational management of Phrae Vocation College; (2) to compare the levels of satisfaction with information system services on vocational management of Plirae Vocation College as classified by user’s status; and (3) to propose guidelines for development of information system services on vocational management of Phrae Vocation College. The research sample consisted of 322 users of information system services on vocational management of Plirae Vocation College, obtained by simple random sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The data collecting instrument was a questionnaire. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and one-way ANOVA. The results of this research were as follows: (1) the overall satisfaction with all aspects of information system services on vocational management of Plirae Vocation College was at the high level; (2) regarding comparison of the levels of satisfaction with information system services on vocational management of Phrae Vocation College as classified by status of users, namely, section heads, personnel, teachers, and students, it was found that the service users with different statuses did not significantly differ in their levels of satisfaction with information system services on vocational management of the College: and (3) the suggestions for development of information system services on vocational management of Plirae Vocation College were the following: there should be a user’s manual with clear details for users in each status: the system should be developed on a continuous basis in order to have up-to-date information that can be most beneficial for application: and up-to-date information on measurement and evaluation of teachers should be included. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
full_text161873.pdf | 6.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License