Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4620
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กมลชัย รัตนสกาววงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุรโกศล แก้วดี, 2527- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-17T07:40:36Z | - |
dc.date.available | 2023-03-17T07:40:36Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4620 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “การขยายระยะเวลาการใช้สิทธิอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งในศาลปกครอง” มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องการขยายระยะเวลาการใช้สิทธิอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งในศาลปกครอง 2. เพื่อศึกษาการขยายระยะเวลาอุทธรณ์ในศาลยุติธรรม ศาลปกครองของประเทศไทยและวิธีพิจารณาคดีปกครองของศาลปกครองฝรั่งเศส 3. เพื่อทราบปัญหาเกี่ยวกับการขยายระยะเวลาการใช้สิทธิอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งในศาลปกครอง 4. เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการขยายระยะเวลาการใช้สิทธิอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งในศาลปกครอง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยการวิเคราะห์ ค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทั่วไป ได้แก่ หนังสือ บทความทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ คำพิพากษาและคำสั่งของศาลปกครอง และกฎหมายที่เกี่ยวข้องเรื่องระยะเวลา ผลจากการศึกษาพบว่า คู่กรณีจะต้องยื่นอุทธรณ์คำพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้มีคำพิพากษาหรือคำสั่ง ซึ่งการยื่นอุทธรณ์ก็เพื่อโต้แย้งคำพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น แต่ด้วยระยะเวลาอุทธรณ์ดังกล่าวกฎหมายไม่ได้ให้อำนาจศาลปกครองชั้นต้นขยายระยะเวลาได้ ซึ่งผู้ศึกษาเห็นว่า ระยะเวลาดังกล่าว เป็นระยะเวลาในกระบวนพิจารณาคดีของศาล หาใช่ระยะเวลาการใช้สิทธิฟ้องคดีดังเช่นอายุความแต่อย่างใดไม่ ระยะเวลาดังกล่าวจึงสมควรที่จะขยายระยะเวลาได้เมื่อพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ไม่ได้ห้ามให้ นำกฎหมายวิธีพิจารณาคดีความแพ่งซึ่งเป็นกฎหมายทั่วไปมาบังคับใช้โดยชัดแจ้ง และศาลปกครองมิได้ขยายระยะเวลาดังกล่าวให้แต่อย่างใด ผู้ศึกษาจึงเห็นว่าในเรื่องนี้ แม้จะไม่สามารถนำกฎหมายวิธีพิจารณาคดีความแพ่งมาใช้ในฐานะที่เป็นกฎหมายทั่วไปแต่ศาลปกครองย่อมสามารถนำหลักการขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์ในฐานะที่เป็นหลักกฎหมายทั่วไปตามนิติวิธีทางกฎหมายมหาชนมาใช้ได้ทั้งนี้ ก็เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม และเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการตีความกฎหมายจึงเสนอให้เพิ่มเติมในมาตรา 73 แห่งพระราชบัญญติดังกล่าวว่า “ทั้งนี้ ให้นำความในมาตรา 23 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม” ด้วย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | วิธีพิจารณาคดีปกครอง | th_TH |
dc.subject | ศาลปกครอง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | การขยายระยะเวลาการใช้สิทธิอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งในศาลปกครอง | th_TH |
dc.title.alternative | Extension of the right to appeal the decision or order in court | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research is to reach the issue regarding “The extension of the right to appeal the decision or order in court”. The three objectives of this research were; (1) To study the theory of the extension of the right to appeal the decision in court and administrative order. (2) To study the principles of the extension to appeal the decision or order in Thai Judicial Court System (only the court of justice and the administrative court) and French administrative procedure. (3) To examine the issues relating to the extension of right to appeal the decision or order in the administrative court. (4) To find the solution for the extension of right to appeal the decision or order in the administrative court. The used method for this Qualitative Research is produced by studying and analyzing several research papers such as law textbooks, academic articles, researches, dissertations and the court’s order or judgment. The result of the study has shown that when the administrative Court of First instance make the judgments in dispute, any litigants having intention to appeal that judgment have to perform to the administrative Court of First instance within 30 days after making decision. It can be seen that such period is just a court procedure period which is not the period for exercising the litigation rights as the prescription. Therefore, the period of the right to appeal the decision should be allowed for extension, the administrative Court of First instance has no authority to extend the time for decision’s appealing. Meanwhile, in the light of Thai Code of Civil Procedure and Criminal Procedure, the general legal principle of law is rejected to enforce in the way of administrative Procedure by the reason that it might not cause the fairness to the parties, I propose to insert the additional wording in Article 73 of the Act on the establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedure, B.E. 2542 which is “Therefore, Article 23 of the Civil Procedure Code shall apply mutatis mutandis.” | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License