Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4644
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิมth_TH
dc.contributor.authorกิ่งแก้ว เรืองจุ้ย, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T09:52:51Z-
dc.date.available2023-03-17T09:52:51Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4644en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบมิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนที่มาจาก ครอบครัวหย่าร้างกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนามิตรภาพระหว่างเพื่อน และ 2) เปรียบเทียบมิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนที่มาจากครอบครัวหย่าร้างกลุ่มทดลองที่ใช้ ชุดกิจกรรมแนะแนวกับนักเรียนที่มาจากครอบครัวหย่าร้างกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มาจากครอบครัวหย่าร้าง โรงเรียนเมธีพิทยา จังหวัดพิจิตร จำนวน 30 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง แล้วลุ่มอย่างง่ายเพื่อ แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน เท่ากัน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา มิตรภาพระหว่างเพื่อน จำนวน 12 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบประเมิน มิตรภาพระหว่างเพื่อนที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนามิตรภาพระหว่าง เพื่อนและ 3) กิจกรรมแนะแนวแบบปกติสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่ามัธยฐาน ค่าเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกชัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองมีมิตรภาพระหว่างเพื่อนสูงขึ้นภายหลังการใช้ ชุดกิจกรรมแนะแนวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรม แนะแนวมีมิตรภาพระหว่างเพื่อนสูงขึ้นมากกว่านักเรียนกลุ่มควบคุม อย่างนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักเรียน--การให้คำปรึกษาth_TH
dc.subjectมิตรภาพในเด็กth_TH
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในเด็กth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนามิตรภาพระหว่างเพื่อนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มาจากครอบครัวหย่าร้างโรงเรียนเมธีพิทยา จังหวัดพิจิตรth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop friendship between friends of Mathayom Suksa II students from divorced family at Metheepittaya School in Phichit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the levels of friendship between friends of the experimental group students from divorced family before and after using a guidance activities package to develop friendship between friends; and (2) to compare the level of friendship between friends of the experimental group students from divorced family who used the guidance activities package with the counterpart level of the control group students from divorced family who took normal guidance activities. The research sample consisted of 30 purposively selected Mathayom Suksa II students from divorced family at Metheepittaya School in Pichit province. Then, they were randomly assigned into the experimental group and the control group each of which consisting of 15 students. The experimental group students used a guidance activities package to develop friendships between friends for 12 sessions, 50 minutes in each session. The employed research instruments were (1) a scale to assess friendship between friends, with reliability coefficient of .92; (2) a guidance activities package to develop friendship between friends; and (3) a set of normal guidance activities. Statistics employed for data analysis were the median, inter-quartile range, Wilcoxon Matched Pairs Singed-Ranks Test, and Man -Whitney U Test. The research results were as follows: (1) the post-experiment friendship between friends level of the experimental group students increased significantly over its pre-experiment counterpart level at the .01 level of statistical significance; and (2) the post-experiment friendship between friends level of the experimental group students, who used the guidance activities package to develop friendship between friend, was significantly higher than the post-experiment counterpart level of the control group students, who took normal guidance activities, at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_161410.pdf12.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons