Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4647
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิระสุข สุขสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorเขมมิกา พวงดอกไม้, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T10:26:44Z-
dc.date.available2023-03-17T10:26:44Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4647en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะทางสังคมของเด็กที่ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ด้วยสื่อการสอนเลโก้ในระยะก่อนการทดลอง และระยะหลังการทดลอง และ 2) เปรียบเทียบทักษะทาง สังคมของเด็กที่ร่วมกิจกรรมกลุ่มด้วยสื่อการสอนเลโก้ในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กที่มีอายุ 9 - 10 ปี อาศัยอยู่ในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 10 คน ที่ได้มาโดยการคัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนดและยินยอมเข้าร่วมการทดลอง เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) กิจกรรมกลุ่มด้วยสื่อการสอนเลโก้ และ (2) แบบวัดทักษะทางสังคม มีค่าความเที่ยง ทั้งฉบับเท่ากับ .85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบ สถิตินอนพาราเมตริกแบบวิลคอกชัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) เด็กกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มด้วยลื่อการสอนเลโก้ มี คะแนนเฉลี่ยทักษะทางสังคมในระยะหลังการทดลองสูงกว่าระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ 2) เด็กกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มด้วยสื่อการสอนเลโก้มีคะแนนเฉลี่ยทักษะทาง สังคมในระยะหลังการทดลองไม่แตกต่างกับในระยะติดตามผลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทักษะทางสังคมในเด็กth_TH
dc.subjectสื่อการสอน--การออกแบบth_TH
dc.subjectของเล่นth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา.th_TH
dc.titleผลการใช้กิจกรรมกลุ่มด้วยสื่อการสอนเลโก้เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กth_TH
dc.title.alternativeEffects of using group activities with LEGO instructional media to develop social skills of childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare social skills of children before and after the experiment of participating in group activities with LEGO instructional media; and (2) to compare social skills of children at the completion of the experiment with those during the follow up period. The research sample consisted of 10 children, aged 9 - 10 years, residing in Nonthaburi province, who were purposively selected based on specific cniteria and agreed to participate in the experiment. The employed research instruments were (1) group activities with LEGO instructional media, and (2) a scale to assess social skills, with reliability coefficient of 85. The statistics used for data analysis were the mean, standandard deviation. and the nonparametric Wilcoxon Signed Rank Test. The research results revealed that (1) the post-experiment mean score on social skills of the experimental group children, who participated in group activities with LEGO instructional media, was significantly higher than their pre-experiment counterparpart mean score at the .05 level of statistical significance; and (2) no significant difference was found between the experimental group children's mean score on social skills at the completion of the experiment and their counterpart mean score during the follow up period.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_161625.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons