Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4720
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์th_TH
dc.contributor.authorสิรินภา คำชนะ, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-19T07:12:52Z-
dc.date.available2023-03-19T07:12:52Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4720en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพ 80/80 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน และ(3) หาดัชนีประสิทธิผลของความก้าวหน้าทางพัฒนาการการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนบ้านโคกสะอาด จังหวัดนครพนม 1 ห้องเรียน จำนวน 15 คน โดยการศึกษา จากประชากร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานและขั้นบูรณาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และการหาค่าดัชนีประสิทธิผล ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มีประสิทธิภาพ สูงตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80.83/82.27 (2) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน (3) ดัชนีประสิทธิผลของความก้าวหน้าทางพัฒนาการการเรียนรู้ของนักเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เท่ากับ 0.70 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางพัฒนาการการเรียนรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 70th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้แบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโคกสะอาด จังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeEffects of using science process skills learning exercises on science process skills of Prathom Suksa VI students at Ban Khok Sa at school in Nakhon Phanon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; (1) to develop science process skills learning exercises for prathom suksa VI students with efficiency criteria of 80/80; (2) to compare science process skills learning achievement of prathom suksa VI students before and after learning,and (3) to find effectiveness index of advancement of learning progression of prathom suksa VI students between before and after learning. Population of this study was a class of 15 students who were studying in prathom suksa VI, second semester, academic year 2012 at Ban Khok Sa-At School, Nakhon Phanom province. Research instruments were eight science process skills learning exercise plans, and basic science process skills test. Statistics used for data analysis were mean, standard deviation, percentage and effectiveness index (E.I.) This research results showed that; (1) science process skills learning exercises had efficiency of 80.83/ 82.27, and (2) science process skills learning achievement test score after using science process skills learning exercise was higher than before using science process skills learning exercise; and, (3) effectiveness index of advancement of learning progression of the students after learning was higher than before learning equal .70. It indicated that the learners had advancement of learning progression of 70 per cent.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_134739.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons