Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4722
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สิรินทร์ธร เอราวรรณ, 2527- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-19T07:27:15Z | - |
dc.date.available | 2023-03-19T07:27:15Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4722 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดอย่างมีวิจารณ ญาณกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และ (4) สร้างสมการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นตัวแปรทำนาย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนพนมไพรวิทยาคาร จำนวน 196 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเคอร์ซีและมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (2) แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และสมการถดถอยอย่างง่าย ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ .879 มีนัยสำคัญทางสถิติระดับที่ระดับ .01 (2) ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ .777 มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ .785 มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (4) สมการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นตัวแปรทำนาย ในรูปของสมการ คะแนนมาตรฐานคือ Ζ′=0.380 CriticalT + 0.451SPSkills | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ร้อยเอ็ด | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพนมไพรวิทยาคาร จังหวัดร้อยเอ็ด | th_TH |
dc.title.alternative | Study of the relationships of critical thinking and science process skills with science learning achievement of Mathayom Suksa I students at Phanomphrai Witthayakan School in Roi Et Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the relationship between critical thinking and science process skills of Mathayom Suksa I students; (2) to study the relationship between critical thinking and science learning achievement; (3) to study the relationship between science process skills and science learning achievement; and (4) to create an equation to predict science learning achievement of the students using critical thinking and science process skills of the students as predicting variables. The research sample consisted of 196 Mathayom Suksa I students of Phanomphrai Witthayakan School in Roi Et province during the first semester of the 2015 academic year. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan Sample Size Table. The employed research instruments were (1) a critical thinking assessment scale, (2) a science process skills assessment scale, and (3) a science learning achievement test. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and simple regression equation. Research findings revealed that (1) the correlation between critical thinking and science process skills of the students was .879, which was significant at the .01 level; (2) the correlation between critical thinking and science learning achievement of the students was .777, which was significant at the .01 level; (3) the correlation between science process skills and science learning achievement of the students was .785, which was significant at the .01 level and (4) the equation to predict science learning achievement of the students using critical thinking and science process skills of the students as predicting variables in the form of standard score was as shown below: Ζ′ = 0.380 CriticalT + 0.451SPSkills | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_157927.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License