Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/481
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสิกร อุปพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ ประจนปัจจนึก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนำพงษ์ ไกยเดช, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T04:33:21Z-
dc.date.available2022-08-11T04:33:21Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/481-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อทราบถึงแนวคิดและทฤษฎีในการกําหนดคุณสมบัติ กระบวนการสรรหา และความเป็นอิสระของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (2) ทราบถึงคุณสมบัติ กระบวนการ สรรหา และความเป็นอิสระของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไทยโดยวิเคราะห์เปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญ ของต่างประเทศ (3) เพื่อทราบถึงปัญหา อุปสรรค และได้แนวทางแก้ไขปัญหาการกําหนดคุณสมบัติ กระบวนการสรรหา และความเป็นอิสระของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเอกสารที่เป็นบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญในส่วนของศาลรัฐธรรมนูญของไทยเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐเกาหลี และญี่ปุ่น ผลการวิจัยพบว่า (1) การกําหนดคุณสมบัติของผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 205(3) ไม่เป็น รูปธรรม จึงส่งผลโดยตรงต่อกระบวนการสรรหาขององค์กรที่ทําหน้าที่สรรหาและคัดเลือกบุคคลไปเป็น ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ในคดีสําคัญๆ ที่ผ่านมา คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญไม่ค่อยเป็นไปตาม เจตนารมณ์ที่แท้จริงของรัฐธรรมนูญเท่าที่ควร ดังนั้น ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญควรต้องมีความรู้ความ เชี่ยวชาญเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ เช่น เคยมีประสบการณ์ที่สอดคล้องกับอํานาจหน้าที่ของศาล รัฐธรรมนูญ มีผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง อาทิ บทความเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นต้น และควร มีหลักเกณฑ์การตรวจสอบผลงานที่ชัดเจน (2) วุฒิสภาไม่มีอํานาจที่จะไม่ให้ความเห็นชอบแก่บุคคล ผู้ได้รับเลือกจากศาลฎีกา ศาลปกครองสูงสุด และคณะกรรมการสรรหาซึ่งไม่สอดคล้องกับหลักการค้าน และดุลอํานาจ จึงควรกําหนดให้วุฒิสภามีอํานาจที่จะไม่ให้ความเห็นชอบแก่บุคคลที่ห็นว่าไม่เหมาะสม ได้อย่างเช่นวุฒิสภาของต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา เป็นต้น (3) องค์กรที่ทําหน้าที่สรรหาไม่มีแนว ปฏิบัติเดียวกันในการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอาจถูกแทรกแซงได้ง่าย จึงควรกําหนดให้มีกฎหมาย เฉพาะอย่างเช่นกฎหมายของเยอรมนี เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น ทั้งนี้ เพื่อความเป็นอิสระของตุลาการศาล รัฐธรรมนูญth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.136en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศาลรัฐธรรมนูญ -- เยอรมันth_TH
dc.subjectศาลรัฐธรรมนูญ -- ญี่ปุ่นth_TH
dc.subjectตุลาการth_TH
dc.subjectศาลรัฐธรรมนูญ -- เกาหลีth_TH
dc.subjectศาลรัฐธรรมนูญ -- สหรัฐอเมริกาth_TH
dc.subjectการสรรหาบุคลากรth_TH
dc.titleการกำหนดคุณสมบัติและกระบวนการสรรหากับความเป็นอิสระของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ : ศึกษาเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐเกาหลี และญี่ปุ่นth_TH
dc.title.alternativeThe qualifications and selection process and the independence of judges of the constitutional court: a comparative study with the constitutional court of the Federal Republic of Germany, the United States of America, the Republic of Korea and Japanth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.136en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the concepts and theories in the qualifications and selection process and the independence of judges of the constitutional court; (2) to know the qualification and selection process and the independence of judges of Thai Constitutional Court by comparing with foreign constitutional courts; and (3) to know the problems and possible solution for the qualifications and selection process and the independence of Thai Constitutional Court to be more suitable. This thesis was conducted through a documentary research by studying constitutions of Thailand, the Federal Republic of Germany, the United States of America, the Republic of Korea and Japan. The findings were as follows: (1) the qualifications of the persons under Section 205 (3) are not concrete that cause the problems to the selection and election of judges of the Constitutional Court. In important past cases the decision of Constitutional Court rarely related to the actual intention of the constitution therefore the judges from the Supreme Court and the Administrative Court ought to have knowledge on constitutional law, for example, have experience in cases relate to the power and duties of the Constitutional Court and should also possess expertise of constitutional matters such as an articles on the constitutional law, etc. In addition there should be an assessment committee to examine such works and experiences. (2) The Senate has no power to disapprove all or some of the nominated persons by the Supreme Court, the Supreme Administrative Court and the Judge Selection Committee of the Constitutional Court that is not harmonious to the principle of check and balance as the Senate of the United States of America. (3) The selecting organs have no the main regulation to carry out the selection process as in the Federal Republic of Germany the Republic of Korea; therefore, there should have such a specific law so that to ensure the independence of judges of the constitutional courten_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib129225.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons