Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/483
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โกวิน วิวัฒนพงศ์พันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | มาโนช อิ่มสมบัติ, 2499- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T06:05:54Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T06:05:54Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/483 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของกับผู้บริหารสาธารฌสุขในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เกี่ยวกับรูปแบบและปัญหาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ (2) จำแนกความแตกต่างในความคิดเห็นของผู้บริหารสาธารณสุขที่มีลักษณะประชากรแตกต่างกัน ประชากรที่ทำการศึกษาประกอบด้วย ผู้บริหารสาธารณสุขทุกระดับในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลชุมชน สถานีอนามัย และหน่วยงานเทศบาล จำนวน 232 คน ทำการทอดแบบสอบถามเพื่อรวบรวมความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบและปัญหาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 รูปแบบ รูปแบบที่ 1 สถานพยาบาลทุกระดับชั้นกับกระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการสุขภาพระดับจังหวัด (กสจ.) ทำหน้าที่เป็นผู้ซื้อบริการ รูปแบบที่ 2 สถานพยาบาลแต่ละระดับขั้นกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละระดับ กสจ.ทำหน้าที่ในฐานะประสาน รูปแบบที่ 3 สถานพยาบาลทุกระดับขั้นกับ กสจ. กสจ. ทำหน้าที่เป็นผู้บริหารสถานพยาบาลโดยตรง รูปแบบที่ 4 สถานพยาบาลทุกระดับอยู่เป็นเครือข่ายในรูปแบบองค์การมหาชน กสจ.ทำหน้าที่เป็นผู้ซื้อบริการ ทำการวิเคราะห์ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้บริหารและทดสอบสมมติฐานของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้บริหารที่มีลักษณะทาง ประชากรแตกต่างกัน ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการทดสอบด้วยวิธเชฟเฟ่ ที่ระดับความเชื่อมั่น ทางสถิติ .05 ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้บริหารโดยรวมส่วนใหญ่เห็นว่า รูปแบบที่ 3 ความเหมาะสมมากที่สุดในแง่ของ ประสิทธิภาพของระบบความเสมอภาค ความยั่งยืนและการยอมรับ สัดส่วนร้อยละสูงสุดของความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาของรูปแบบที่ 1 คือ การรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลางทำให้เกิดระบบอุปถัมภ์และประชาชนมีส่วนร่วมน้อย เกี่ยวกับปัญหาของรูปแบบที่ 2 คือ หากท้องถิ่นขาดความเข้าใจ/ความไม่พร้อมในการใช้อำนาจที่ได้รับอาจทำไห้เกิดปัญหาการแทรกแซงทางการเมือง เกี่ยวกับปัญหาของรูปแบบที่ 3 คือ ความซับซ้อนของโครงสร้างทำให้เกิดความล่าช้าในการบริหารงาน/การประสานงาน และเกี่ยวกับปัญหาของรูปแบบที่ 4 คือ ความไม่มั่นใจในรูปแบบเพราะขาดความชัดเจนและยังไม่เคยทดลองปฏิบัติ และ (2) มีนัยสำคัญทางสถิติของความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นในผู้บริหารที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างผู้บริหารที่มีการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าขึ้นไปและผู้บริหารที่มีการศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาตรี | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การปกครองท้องถิ่น--ไทย--ประจวบคีรีขันธ์ | th_TH |
dc.subject | การกระจายอำนาจปกครอง--ไทย | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | การศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารสาธารณสุขเกี่ยวกับรูปแบบการกระจายอำนาจด้านสุขภาพสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were (1) to study the opinions of public health administrators in Prachuap Khiri Khan Province about the models and relative problems of health decentralization to Local Administrative Organization, and (2) to determine differences in the opinions of public health administrators who have had different demographic characteristics. The study population consisted of 232 public health administrators at all levels including those positions in Provincial Health Office, Provincial Hospital, Community Hospital, Health center, and Municipality Agencies, rhe questionnaires were sent to collect data on their opinions about four models of health decentralization to Local Administrative Organization, namely. Model I : health facilities at all levels reporting to the Ministry of Public Health, whereas a Provincial Health Board(PHB) serving as service purchaser; Model II : at each level, health facilities reporting to their respective local administrative organization, whereas the PHB serving as coordinator; Model III : all health facilities at all levels reporting to the PHB, directly serving as administrator of health facilities; and Model IV : all health facilities at all levels forming a network of public organization, whereas the PHB serving as service purchaser. Data were analysed to compare opinion means of the administrators about the elements of the four models, and to test hypothesis of the opinion means of the administrators who have had different demographic characteristics by using one-way ANOVA and Scheffe’s, at 95% confindence interval. The findings were (1) most of the entire administrators approved of Model III regarding its merits of system efficiency, equity, and sustainability and acceptance, the highest percent proportion of the responses to the relative problems of Model I were the centralization may enhance the patronage system and meanwhile lessen people participation; of Model II were if the Local Administrative Organization lacks understanding or is not ready to use the decentralized authority, the political interference will happen: of Model III were the complexity of the structure will delay the management and/or cooperation; and of Model IV were having no confidence in the structure regarding its lack of practical clarity; and (2) there was a statistically significant difference of opinion means among the administrators who have had different demographic characteristics, particularly between those who have attained Master Degree or equivalent or higher and those who have attained lower than bachelor degree | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมศักดิ์ บุตราช | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License