กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/488
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาท้องถิ่นของเราเรื่องความรู้เกี่ยวกับหนังตะลุงสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง
ชื่อเรื่องอื่นๆ: A development of learning packages VIA computer network on the topic of introduction to shadow plays in our localities course of mattayomsuksa in students in the school under the phattalung educational service area office
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ทิพย์เกสร บุญอำไพ, อาจารย์ที่ปรึกษา
กำพล ดำรงค์วงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษา
วิจิตร ศรีสุวิทธานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา
พิเชฏฐ์ เพ่งบุญ, 2501-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์
คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
หนังตะลุง--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
วันที่เผยแพร่: 2546
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาท้องถิ่นของเรา เรื่องความรู้เกี่ยวกับหนังตะลุง สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาท้องถิ่นของเรา เรื่องความรู้เกี่ยวกับหนังตะลุง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาขยาดวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง จำนวน 39 คนผู้วิจัยได้ทดลองใช้ชุดการเรียน โดยทดลองแบบเดี่ยวจำนวน 3 คน แบบกลุ่มจำนวน 6 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการเรียน หลังจากนั้นไปทดลอง ภาคสนามกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาขยาดวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุงและนำผลการทดลองมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพ โดยใช้สูตร E,/E, และ t-test ผลการวิจัยพบว่า (1) ซุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย หน่วยที่ 9 หน่วยที่ 10และหน่วยที่ 11มีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดคือ 80.60/81.00.79.30/80.60 และ 80.00/80.30 ตามลำดับ (2) นักเรียนที่เรียนกับขุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายในระดับเห็นด้วย การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาท้องถิ่นของเรา เรื่องความรู้เกี่ยวกับหนังตะลุง สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาท้องถิ่นของเรา เรื่องความรู้เกี่ยวกับหนังตะลุง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาขยาดวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง จำนวน 39 คนผู้วิจัยได้ทดลองใช้ชุดการเรียน โดยทดลองแบบเดี่ยวจำนวน 3 คน แบบกลุ่มจำนวน 6 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการเรียน หลังจากนั้นไปทดลอง ภาคสนามกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาขยาดวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุงและนำผลการทดลองมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพ โดยใช้สูตร E,/E, และ t-test ผลการวิจัยพบว่า (1) ซุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย หน่วยที่ 9 หน่วยที่ 10และหน่วยที่ 11มีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดคือ 80.60/81.00.79.30/80.60 และ 80.00/80.30 ตามลำดับ (2) นักเรียนที่เรียนกับขุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนด้วยคการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาท้องถิ่นของเรา เรื่องความรู้เกี่ยวกับหนังตะลุง สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาท้องถิ่นของเรา เรื่องความรู้เกี่ยวกับหนังตะลุง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาขยาดวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง จำนวน 39 คนผู้วิจัยได้ทดลองใช้ชุดการเรียน โดยทดลองแบบเดี่ยวจำนวน 3 คน แบบกลุ่มจำนวน 6 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการเรียน หลังจากนั้นไปทดลอง ภาคสนามกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาขยาดวิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุงและนำผลการทดลองมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพ โดยใช้สูตร E,/E, และ t-test ผลการวิจัยพบว่า (1) ซุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย หน่วยที่ 9 หน่วยที่ 10และหน่วยที่ 11มีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดคือ 80.60/81.00.79.30/80.60 และ 80.00/80.30 ตามลำดับ (2) นักเรียนที่เรียนกับขุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายในระดับเห็นด้วยอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายในระดับเห็นด้วย
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/488
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
82103.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.16 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons