Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4897
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤษณา รุ่งโรจน์วณิชย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ลัดดา พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ปารณีย์ มีจิตร, 2515- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-24T07:53:15Z | - |
dc.date.available | 2023-03-24T07:53:15Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4897 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาวะผู้บริโภคที่ซื้อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรดในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) พฤติกรรมของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรด 3) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรด 4) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของผู้บริโภคกับปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรด 5) ข้อเสนอแนะการพัฒนาผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรดในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ลักษณะทั่วไปของผู้บริโภคที่ซื้อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรดส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ระดับการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป โดยมีรายได้เฉลี่ยต่ากว่า 10,000 บาท และจานวนสมาชิกในครอบครัว 3-4 คน ที่นิยมบริโภคผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรด 2) พฤติกรรมของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรด ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีพฤติกรรมซื้อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรดเนื่องจากสมาชิกในครอบครัวชอบ ความถี่ที่ซื้อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรดมาบริโภคในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะซื้อบางครั้งที่เดินทางมา จานวนกล่องที่ซื้อเฉลี่ยในแต่ละครั้งจานวน 3 กล่อง ผู้บริโภคซื้อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรดจากบริเวณร้านขายของฝาก 3) ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรด ได้แก่ คุณภาพและบรรจุภัณฑ์ ราคาของผลิตภัณฑ์ ความสะดวกในการซื้อผลิตภัณฑ์ และการลดราคา/การแถมผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรด 4) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคพบว่า ผู้บริโภคที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 30,000 บาทขึ้นไป จะซื้อผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ ไส้สับปะรดจากร้านขายของฝากมากกว่ากลุ่มรายได้อื่นๆ 5) ข้อเสนอแนะสาหรับผู้ผลิตแครกเกอร์ไส้สับปะรดควรปรับปรุงสินค้าให้ได้มาตรฐาน ได้แก่ รสชาติของสินค้าควรคงที่ ควรติดฉลากคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ให้ชัดเจน ซึ่งทำให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจ และช่วยเพิ่มมูลค่าในตัวผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.154 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | th_TH |
dc.subject | สับปะรด--การแปรรูป | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมผู้บริโภคผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ไส้สับปะรดในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Consumer behavior of pineapple cracker products in Prachuap Khiri Khan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.154 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research was aimed to study 1) the personal characteristics of consumers who bought pineapple cracker products in Prachuap Khiri khan Province, 2) consumer behavior towards pineapple cracker products, 3) factors that affected buying behavior for pineapple cracker products, 4) the relation of the consumers’ characteristics and factors that affected buying behavior for pineapple cracker products, and 5) consumers’ suggestions to develop pineapple cracker products in Prachuap Khiri khan Province. This study was a survey research. The population was consumers who purchased pineapple cracker products in Prachuap Khiri khan Province, and the target sample size of 400 units was determined by using Yamane table. The sample was selected by accidental sampling technique. Data were analyzed by average, percentage, standard deviation, and chi-square. The results showed that 1) most consumers who bought pineapple cracker products were women, graduated their bachelor’s degree or higher, had an average income less than 10,000 baht per month, and had 3-4 family members who consumed pineapple cracker products. 2) When consumer behavior of pineapple cracker product was considered, the consumer buying behavior was because of family member’s preference. The average buying frequency in the last 3 years was rarely and an average quantity bought from souvenir shops was 3 boxes at a time. 3) Important factors that affected buying behavior for pineapple cracker products were quality and packaging, followed by price, buying convenience, and discounts/complimentary options. 4) Analysis of the relation between consumers’ personal conditions and buying behavior found that consumers with the average income of at least 30,000 baht per month were more likely to buy the products from souvenir shops than those with different income. 5) Suggestions for pineapple cracker producers were to develop the products to meet the standards, i.e. consistent taste and clearly shown nutritional values on the labels which would make the buyers be more confident as well as the product value be increased | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
148240.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License