Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4940
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา บัวเกิด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสาวรส บุญสม, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.dateสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-25T04:12:25Z-
dc.date.available2023-03-25T04:12:25Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4940en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนเรียงความสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนเรียงความสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างสำหรับการตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึกการเขียนเรียงความ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบัวเชดวิทยา จำนวน 10 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ (1) แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนเรียงความที่สร้างขึ้น (2) แบบประเมินคุณภาพแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนเรียงความโดยผู้เชี่ยวชาญ และ (3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนเรียงความ สถิติที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาค้นคว้ามีดังนี้ (1) แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนเรียงความที่สร้างขึ้น ประกอบด้วยเนื้อหา จำนวน 6 เรื่อง ได้แก่ แบบฝึกที่ 1 เรื่อง การใช้คำ แบบฝึกที่ 2 เรื่อง ประโยคเพื่อการสื่อสาร แบบฝึกที่ 3 เรื่อง การเขียนโครงเรื่อง แบบฝึกที่ 4 เรื่อง โวหารในการเขียนเรียงความแบบฝึกที่ 5 เรื่อง การเขียนเรียงความ และแบบฝึกที่ 6 เรื่อง การเขียนเรียงความจากประสบการณ์ โดยแบบฝึกแต่ละเรื่องประกอบด้วย ใบความรู้ กิจกรรม พร้อมเฉลยท้ายเรื่อง (2) การตรวจสอบคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่าแบบฝึกการเขียนเรียงความในภาพรวมมีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อคุณภาพของแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนเรียงความโดยภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเขียนของนักเรียนth_TH
dc.subjectความสามารถในการเรียนรู้th_TH
dc.subjectความสามารถในเด็กth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างแบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนเรียงความสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th_TH
dc.title.alternativeThe construction of the practice for developing capabilities of writing a composition for Mathayom Suksa II studentsth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to (1) produce the exercises to develop the composition writing for Matthayom Suksa II and (2) to assess to the quality of the composition writing exercises for Matthayom Suksa II. Three qualified persons and ten Matthayom Suksa II students of Bua Chet Wittaya School were purposively sampled as the participants. The research instruments were 1) the composition writing exercises (2) the quality assessment forms for composition writing exercises and (3) questionnaires. The collected data was analyzed by index of item-objective congruence, mean and standard deviation. The study disclosed that (1) the composition writing exercises, which each exercise contains knowledge sheets and worksheets with answers ,consist of 6 topics, namely, first exercise “words use”, second exercise “sentences for communication”, third exercise “plots”, forth “phrases used in the composition writing”, fifth exercise “the composition writing”, and sixth exercise “the composition writing based on students’ experiences ”, (2) the quality assessment for additional reading books by the qualified persons found that the overall index of item-objective congruence of the composition writing exercises was 1.00 and (3) students’ opinions toward the composition writing exercises as a whole was at high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_143437.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons