Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชัย รัตนสกาววงศ์th_TH
dc.contributor.authorเบญจมาศ แก้วไวยุทธิ์, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T06:58:39Z-
dc.date.available2022-08-11T06:58:39Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/494en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555.th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาขอบเขตการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2546 ที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ. ศ. 2542 (2) ศึกษา แนวคิดทฤษฎีและหลักกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของต่างประเทศและประเทศไทย (3) วิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของพนักงานบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากดั (มหาชน) (บริษัท กสท) (4) เสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการนำกฎหมายเรื่องความรับผิด ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่มาใช้กับพนักงานบริษัท กสท การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร จากการเก็บ รวบรวมข้อมูลกฎหมาย บทความ และเอกสารต่าง ๆ เพื่อศึกษาเรื่องการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ผลบังคับใช้ของมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 แนวคิดทฤษฎีหลักกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ผลการศึกษาพบว่า (1) จากการแปลงสภาพการสื่อสารแห่งประเทศไทย ที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติ การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519 เป็น บริษัท กสท ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มีผลทําให้บริษัทมีฐานะเป็นนิติบุคลเอกชนและไม่มีการใช้อํานาจรัฐ เนื่องจากมีคณะกรรมการ กสทช. เป็นผู้อนุญาตในการประกอบกิจการโทรคมนาคม ทั้งนี้แม้บริษัท กสท จะอยู่ในสถานะรู้ฐวิสาหกิจตามความหมายในมาตรา 4 แห่ง พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ 2502 แต่ก็ไม่อยู่ในความหมาย “หน่วยงานของรัฐ” ตามพระราชบญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 (2) ตามแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่โดยหลักแล้วจะมุ่งเน้นที่ การสร้างความมั่นใจในการบังคับใช้กฎหมายให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ (3) แม้บริษัท กสท จะไม่ได้ใช้อํานาจรัฐในการบังคับใช้กฎหมายแล้วก็ตาม แต่จากการศึกษาพบข้อดี้ในการใช้หลักเกณฑ์ความรับผิดทางละเมิด “โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง และรับผิดตามสัดส่วนแห่งการกระทํา” ตามหลักกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่สามารถนำมาใช้กับพนักงานบริษัท กสท โดยถือเป็นข้อบังคับการทำงาน และเป็นสภาพการจ้างที่มีอยู่ก่อนการแปลงสภาพตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2546 และ พระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 มาตรา 25 เนื่องจากมีบทบัญญัติกำหนดว่าพนักงานและลูกจ้างที่โอนไปยัง บริษัทต้องได้รับสิทธิประโยชน์ไม่น้อยกว่าที่เคยได้รับอยู่เดิม อย่างไรก็ตามอาจถูกโต้แย้งในหลักกฎหมายเรื่องความรับผิดทางละเมิดของพนักงานในลักษณะของบริษัทเอกชน ซึ่งข้อโต้แย้งด้งกล่าวจะสิ้นสุดลงเมื่อบริษัท กสท เข้าสู่ตลาดหลักทรัพยแห่งประเทศไทย (4) ข้อเสนอแนะคือบริษัท กสท ควรทบทวนหลักเกณฑ์ข้อกำหนดความรับผิดทางแพ่งของพนักงานให้สอดคล้องตามกฎหมายทุนรัฐวิสาหกิจดังกล่าวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.283en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความรับผิด (กฎหมาย)th_TH
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์--ละเมิดth_TH
dc.titleการนำหลักเกณฑ์กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่มาใช้กับพนักงานบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeApplication of tort liability for officials on CAT's employeesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.283en_US
dc.identifier.urlสิริพันธ์ พลรบth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the present study are (1) to study the scope of the privatization and the Resolution of the Council of Ministers on July 8, B.E.2003 issued and authorized by the State Enterprises Capital Act, B.E. 1999, (2) to study the theoretical concept and lawful principle regarding tort liability for state officials in foreign countries and Thailand, (3) to analyze the advantage and disadvantage of the lawful enforcement concerning the tort liability of the employees of the Communication Authority of Thailand (Public Company) (CAT), and (4) to find out the appropriate way to apply the law on tort liability of state officials to employees of Communication Authority of Thailand (Public Company).The qualitative approach is analyzed for this study with the methodology of documentary research by collecting data from legislation, journals, and other documents, for studying the privatization enforced by the Resolution of the Council of Ministers on July 8, B.E. 2003, and for the lawful theoretical concept of the tort liability of state officials.The results have been revealed as follows: (1) In privatization process, the status of the Communication Authority of Thailand established under the Communication Authority of Thailand (Public Company) B.E. 1979 has been transformed and becoming CAT according to the Public Company Act , B.E. 1992. As a result, CAT is acted as the private juristic person and no longer exercised the power of state to grant permission for operating the business of telecommunication since the power is now vested to the Office of the National Broadcasting and Telecommunications Commission (NBTC). CAT is not a state enterprise, and not classified in the category of "government agencies" according to the Act of Tort Liability of Officials, B.E. 1996, although CAT is still in the status of state enterprise in accordance with section 4 of the Budgetary Procedure Act, B.E. 1959. (2) According to the theoretical concept of tort liability of state officials, the objective of the law is to create the trustworthy of law enforcement to state officials. (3) Although CAT will not exercise the state authority for law enforcement, the benefit to apply the principle of tort liability under the Act of Tort Liability of Officials, B.E. 1996, i.e., the “intent or gross negligence” and the “proportion liability of action" to CAT’s employees as the working rules and the existing employment terms prior to the transformation which is according to the Resolution of the Council of Ministers on July 8, B.E. 2003 and section 25 of the State Enterprises Capital Act, B.E. 1999 which states that the transferred employees must gain the rights and benefits not less than ever gained before. The controversial point, however, may be the status of CAT that is no longer the government agency. This controversy should be ended at the time CAT becomes a company in SET market. (4) The proposed recommendation is that CAT should revise its working rules so as to conform with the transitional provision of the State Enterprises Capital Act, B.E. 1999.en_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130317.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons