Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/497
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | มาลินี สร้อยดอกไม้ | - |
dc.contributor.author | ธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์ | - |
dc.contributor.author | สุภมาส อังศุโชติ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T07:04:57Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T07:04:57Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), หน้า 135-145 | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/497 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความก่อนเรียนกับหลังเรียน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นประจวบคีรีขันธ์เป็นสื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ (2) ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นประจวบคีรีขันธ์เป็นสื่อ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดนาห้วย (แสงกล้า-ประชาสรรค์) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในปีการศึกษา 2562 จำนวน 18 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านจับใจความโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นประจวบคีรีขันธ์เป็นสื่อ และแบบทดสอบความสามารถในการอ่านจับใจความ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นประจวบคีรีขันธ์เป็นสื่อ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) คะแนนแฉลี่ยจากการทดสอบซ้ำที่เว้นระยะเวลาไปแล้ว 2 สัปดาห์ไม่แตกต่างกัน แสดงว่านักเรียนมีความคงทนในการเรียนรู้ | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | ความเข้าใจในการอ่าน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นประจวบคีรีขันธ์เป็นสื่อในการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความ และความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | th_TH |
dc.title.alternative | The Effects of Using Prachuap Khiri Khan Local Wisdom as the Media for Developing Reading Comprehension Ability and Learning Relention of Prathom Suksa VI Students in Schools under Prachuap Khiri Khan Primary Education Service Area 2, Prachuap Khiri Khan Province | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare reading comprehension abilities of Prathom Suksa VI students in schools under Prachuap Khiri Khan Primary Education Service Area 2 before and after learning with the use of Prachuap Khiri Khan local wisdom as the media; and (2) to study learning retention of the students after learning with the use of Prachuak Khiri Khan local wisdom as the media. The research sample consisted of 18 Prathom Suksa VI students of Wat Nahuay (Saeng Kla Prachasan) School in Prachuap Khiri Khan Province during the 2019 academic year, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments included learning management plan for reading comprehension instruction with the use of Prachuap Khiri Khan local wisdom as the media, and a reading comprehension ability test. The employed statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the post-learning reading comprehension ability mean score of the students, who learned with the use of Prachuap Khiri Khan local wisdom as the media, was significantly higher than their pre-learning counterpart mean score at the .05 level of statistical significance; and (2) no significant difference was found between the post-test mean score of the students and the mean score of their testing after the duration of two weeks following the completion of the experiment, which indicated that the students had learning retention | en_US |
Appears in Collections: | STOU Education Journal |
This item is licensed under a Creative Commons License