Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/500
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorประพันธ์ ทรัพย์แสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุณยรัตน์ เปาะทองคำ, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T07:21:15Z-
dc.date.available2022-08-11T07:21:15Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/500-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาแนวคิด ความเป็นมาหลักการและวิวัฒนาการในเรื่องการรับ ฟังพยานหลักฐาน และการกลั๋นกรองพยานหลักฐานในระบบกฎหมายซิวิลลอว์ (Civil Law) และระบบกฎหมาย คอมมอนลอว์ (Comond Law) รวมทั้งบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับการรับฟังพยานหลักฐานและการกลั่นกรอง พยานหลักฐานก่อนนำไปสู่ขั้นตอนการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน ตลอดจนกฎหมายไทยเกี่ยวกับการรับฟัง พยานหลักฐานและระบบการกลั่นกรองพยานหลักฐานก่อนไปสู่ขั้นตอนการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานกับการใช้ หลักกฎหมายเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมของศาลไทย โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบกับระบบกฎหมายดังกล่าว เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการใช้อำนาจศาลในการกลั่นกรองพยานหลักฐานกับการใช้หลักกฎหมายเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) ซึ่งใช้วิธีการ (method) ศึกษาข้อมูลที่ ผสมผสานกันระหว่างการวิจัยเอกสาร การสังเกต และศึกษาจากคดีที่เกิดขึ้นจริง ในการวิจัยเอกสารใช้เอกสารทั้ง ขั้นปฐมภูมิ (Primary document) และขั้นทุติยภูมิ (Secondary document) ตัวบทกฎหมายในรูปแบบของประมวล กฎหมาย พระราชบัญญัติ หนังสือตำราทางวิชาการ รายงานการศึกษา วิทยานิพนธ์ บทความ และเอกสารต่างๆ ในรูปแบบอื่นๆ เป็นต้น จากนั้นนำข้อมูลทั้งหลายที่ได้ดังกล่าวมาทำการวิเคราะห์เพื่อตอบคำถามของการวิจัย (research question) โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ให้สอดคล้องกับประเด็นที่ได้ตั้งสมมติฐานไว้ภายใต้หลักการทฤษฎี และหลักกฎหมาย จากการศึกษาวิจัยทำให้ทราบถึงแนวคิด ความเป็นมา และวิวัฒนาการในเรื่องการรับฟัง พยานหลักฐานในระบบกฎหมายซิวิลลอว์ (Civil Law) และระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ (Comond Law) ทำให้เข้าใจหลักการวิวัฒนาการ และแนวทางในการรับฟังพยานหลักฐาน การกลั่นกรองพยานหลักฐาน และการ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการใช้อำนาจศาลในการกลั่นกรองพยานหลักฐานกับการใช้หลักกฎหมายเพื่อประโยชน์แห่่ง ความยุติธรรม และทำให้สามารถประยุกต์ใช้และพัฒนากระบวนการพิจารณาที่เกี่ยวกับการรับฟังพยานหลักฐานและการกลั่นกรองพยานหลักฐานอย่าง มีระบบเพื่อให้มีประสิทธิภาพ มีความเที่ยงธรรม และเกิดประโยชน์สูงสุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.32en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยานหลักฐาน -- ไทย -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ.th_TH
dc.titleการกลั่นกรองพยานหลักฐานกับการใช้หลักกฎหมายเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม (ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 87(2))th_TH
dc.title.alternativeWitness and evidences filter system and law for the justice according to the computation of the Civil Law Article 87(2)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.32en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study concepts, the background of principles and evolution of recognition and screening of witnesses and evidence in civil law and common law system, legislation in regard to recognition and screening of witnesses and evidence before the consideration procedure, Thai laws regarding recognition and screening of witnesses and evidence before the consideration procedure, as well as application of laws for justice of Thai court. The above-mentioned legal systems were compared to analyze problems and find solutions to problems of court exercising power to screen witnesses and evidence and application of legal principles for justice. In this qualitative research, data were collected from primary and secondary documents, observations, actual cases, the code, acts, textbooks, studies, theses, articles and other types of materials. The data were then analyzed to find answers to the research questions. Analysis was conducted in accordance with hypotheses, theories and legal principles. This research revealed concepts, the background of principles and evolution of recognition and screening of witnesses and evidence in civil law and common law, legislation in regard to recognition and screening of witnesses and evidence, solutions to problems of court exercising power to screen witnesses and evidence and application of legal principles for justice. The results can be applied to develop the witness and evidence screening system in the most effective, just and beneficial wayen_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
138360.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons