Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทนง ทองภูเบศร์-
dc.contributor.authorประกอบ คุณารักษ์-
dc.contributor.authorวีระวัฒน์ อุทัยรัตน์-
dc.contributor.authorกิจพิณิฐ อุสาโห-
dc.contributor.authorสุคนธ์ทิพย์ ทินาภรณ์-
dc.date.accessioned2022-08-11T07:32:49Z-
dc.date.available2022-08-11T07:32:49Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), หน้า 161-177th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/506-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์และสังเคราะห์ปรากฏการณ์และองค์ประกอบของรูปแบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกระดับอุดมศึกษา และ 2) พัฒนาอนาคตภาพของรูปแบบ ฯ ในทศวรรษหน้า ดำเนินการวิจัยโดยใช้เทคนิค EDFR ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้เชี่ยวชาญ 21 คน ประกอบด้วย ผู้มีอำนาจโดยตรงและโดยอ้อมในการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกระดับอุดมศึกษา ผู้มีบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานสนองตอบนโยบายเกี่ยวกับการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก นักวิชาการ และ ผู้ใช้บัณฑิต ผลการวิจัยพบว่า 1) ปรากฏการณ์และองค์ประกอบของรูปแบบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาภายนอก มี 5 องค์ประกอบ คือ (1) กระบวนทัศน์ของสถาบันอุดมศึกษาที่เปลี่ยนจากฐานทฤษฎีสู่ฐานปฏิบัติ (2) เป้าหมายสู่การร่วมมือกับองค์กรอื่นเพื่อเสริมสิ่งที่ตนเองไม่ถนัด (3) มิติเกณฑ์ การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มแล้วกำหนดเกณฑ์กลางที่วัดทั้งประสิทธิภาพและสมรรถนะของผู้สำเร็จการศึกษา (4) นวัตกรรมวิธีการที่มุ่งประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกที่ผลลัพธ์ โดยให้อิสระกับกระบวนการผลิตของสถาบันอุดมศึกษา และ (5) ความเชื่อมั่นในการติดตามผลลัพธ์และผลกระทบควรติดตามทุกปี เพื่อการประเมินตั้งแต่ต้นทางในลักษณะการประเมินเพื่อการพัฒนา และ 2) อนาคตภาพของรูปแบบ ฯ ในทศวรรษหน้ามี 4 องค์ประกอบหลัก คือ (1) แนวคิดของรูปแบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกระดับอุดมศึกษาในทศวรรษหน้า ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลง การขับเคลื่อน ความยืดหยุ่น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และบทบาทผู้เรียน (2) องค์ประกอบของรูปแบบ ฯ มี 5 องค์ประกอบ คือ กระบวนทัศน์ เป้าหมาย มิติเกณฑ์ นวัตกรรมวิธีการ และความเชื่อมั่น (3) แนวโน้มของรูปแบบ ฯ และ (4) กระบวนการของรูปแบบ ฯ ซึ่งทุกองค์ประกอบมีสัมพันธ์เชื่อมโยงกันนำไปสู่คุณภาพการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในโลกยุคใหม่th_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาth_TH
dc.titleอนาคตภาพของรูปแบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกระดับอุดมศึกษาในทศวรรษหน้าth_TH
dc.title.alternativeScenario of an evaluation and external quality assurance model of higher education in the next decadeth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research article were 1) to analyze and synthesize phenomena and components of an evaluation and external quality assurance model of higher education; and 2) to develop the scenario of an evaluation and external quality assurance model in the next decade. The research process was EDFR technique. Key informants totaling 21 persons comprised: the persons who have direct and indirect power in formulation of policies concerning the evaluation and external quality assurance of higher education, the persons who have duty and roles in the operation to respond to the above-mentioned policy, academics on evaluation and external quality assurance and employers of graduated students. The research results show that 1) the phenomenon and components of the external higher education quality assurance model consist of 5 components: (1) a paradigm of higher education institutions that has changed from theory-based to practice-based; (2) the goal toward collaborating with other organizations to enhance what they do not specialize in; (3) the criteria dimension: ranking of higher education institutions by group and determining common criteria that measure both the efficiency and competence of graduates with general and specific criteria and indicators; (4) innovation methods that aim to assess the external quality of educational outcomes by giving freedom to the production process of higher education institutions; and (5) confidence in monitoring the outcomes and impacts that should be monitored every year in order to evaluate from the beginning in the form of formative assessment; and 2) the scenario of the model in the next decade consists of four main components: (1) the concept of the evaluation and external quality assurance model for higher education in the next decade consists of changes, mobilization, flexibility, stakeholders, and the roles of learners; (2) the components of the model consist of 5 components, namely, the paradigm, goals, criteria dimensions, innovation methods, and confidence; (3) trends of the model; and (4) the process of the model in the next decade. All components are interrelated contributing to the quality of education for lifelong learning in the modern worlden_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44247.pdfเอกสารฉบับเต็ม855.34 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons