Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/509
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัจฉรา นิยมาภา-
dc.date.accessioned2022-08-11T07:51:18Z-
dc.date.available2022-08-11T07:51:18Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), หน้า 178-196th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/509-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากรอบแนวคิดการบริหารสถานศึกษาวิถีใหม่และคุณภาพการศึกษาที่พึงประสงค์ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง 2) พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาวิถีใหม่สู่คุณภาพการศึกษาที่พึงประสงค์ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง 3) ทดลองใช้รูปแบบในสถานศึกษา และ 4) ตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของรูปแบบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 240 คนผลการวิจัย พบว่า 1) การบริหารสถานศึกษาวิถีใหม่ ประกอบด้วย 6 ด้าน คือ นโยบายเชิงรุก โครงสร้างองค์กรแบบยืดหยุ่น ระบบปฏิบัติงานแนวใหม่ พัฒนาหลักสูตรแบบพลิกผัน จัดการเรียนรู้อิงบริบท และประเมินผลแบบสหวิถี ส่วนคุณภาพการศึกษาที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ความสามารถในการปรับตัว การบรรลุเป้าหมายในสถานการณ์พลิกผัน คุณภาพของผู้เรียนในบริบทที่เปลี่ยนแปลง ความพึงพอใจของหุ้นส่วน 2) รูปแบบที่พัฒนาเรียกว่า PSPCLE Model ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ (1) มโนทัศน์การบริหารสถานศึกษาวิถีใหม่ 3 ด้าน (2) แนวทางการบริหารสถานศึกษาวิถีใหม่ 6 ด้าน และ (3) เงื่อนไขความสำเร็จการบริหารสถานศึกษาวิถีใหม่ 4 ด้าน 3) ผลการประเมินหลังการทดลองใช้รูปแบบ พบว่า PSPCLE Model มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และ 4) ผลการตรวจสอบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของรูปแบบ พบว่า รูปแบบมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า Chi-Square /df = 1.485, p-value = 0.07494 GFI = 0.98 RMSEA = 0.036 ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรพลิกโฉมการบริหารสถานศึกษา วิถีใหม่ โดยจัดทำนโยบายเชิงรุก ปรับโครงสร้างองค์กรแบบยืดหยุ่น พัฒนาระบบปฏิบัติงานแนวใหม่ พัฒนาหลักสูตรแบบพลิกผัน จัดการเรียนรู้อิงบริษัท และประเมินผลแบบสหวิถีth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.titleรูปแบบการบริหารสถานศึกษาวิถีใหม่สู่คุณภาพการศึกษาที่พึงประสงค์ในบริบทที่เปลี่ยนแปลงth_TH
dc.title.alternativeModel of new normal school administration to desirable educational quality in changing contextth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: 1) study conceptual frameworks of new normal school administration and desirable educational quality in the changing context; 2) develop a model; 3) experiment the model in school; and 4) verify the structural relationship of the model to the empirical data. A sample of 240 was randomly selected from secondary school administrators. The findings revealed as follows. 1. There were six components of the new normal school administration: 1) proactive policy, 2) flexibleorganizational structure, 3) new operating system, 4) developing a reversal curriculum, 5) contextual learning management, and 6) interdisciplinary assessment. As for the desirable quality of education in the changing context, there were four components:1) ability to adapt, 2) achieving goals in disrupted situations, 3) quality of learners in changing contexts, and 4) satisfaction of partners, 2. The model of new normal school administration to desirable quality in a changing context was called PSPCLE model, consisted of three parts 2) guide line of new normal school administration consisted of six components and 3) conditions for success in the new normal school administration consisted of four components 3. The results of the evaluation after the model experiment, it was found that the model was at the very high appropriate level. 4. The result of verification showed that the linear structural relationship of the developed school administration for desirable educational quality in the new normal changing context was consistent with the empirical data in that the Chi-Square /df = 1.485, p-value = 0.07494 GFI = 0.98 RMSEA = 0.036. Recommendations from the research findings were that: school administrators should be change school administration by establishing proactive policy, flexible organizational structure, new operating system, developing a reversal curriculum, contextual learning management, and interdisciplinary assessment.en_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44248.pdfเอกสารฉบับเต็ม438.2 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons