Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5129
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.contributor.authorพัชรี สุนทรเพียร, 2516-th_TH
dc.date.accessioned2023-03-28T09:11:47Z-
dc.date.available2023-03-28T09:11:47Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5129en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาพลักษณ์ของโรงเรียนภัทรวิทยา อําเภอแม่สอด จังหวัดตากตามการรับรู้ของผู้ปกครอง และ 2) เปรียบเทียบภาพลักษณ์ของโรงเรียนภัทรวิทยา อําเภอแม่สอด จังหวัดตากตามการรับรู้ของผู้ปกครอง จําแนกตามระดับการศึกษา รายได้และอาชีพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ปกครองของนักเรียนที่กําลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนภัทรวิทยา อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก ในปีการศึกษา 2559 จํานวน 306 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบสัดส่วนและการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวด้านความศรัทธาไม่แตกต่างกัน ผลการวิจัย ปรากฏว่า 1) ภาพลักษณ์ของโรงเรียนภัทรวิทยา อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก ทั้งในภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก สําหรับภาพลักษณ์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความเชื่อถือ รองลงมาคือ ด้านความศรัทธา และด้านการยอมรับ และ 2) ผลการเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของ โรงเรียน จําแนกตามระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ พบว่า ผู้ปกครองที่มีระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพแตกต่างกันมีการรับรู้ต่อภาพลักษณ์ของโรงเรียนในด้านความเชื่อถือ ด้านการยอมรับ และด้านความศรัทธาไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การ -- ไทยth_TH
dc.subjectโรงเรียนth_TH
dc.subjectการรับรู้ทางสังคมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleภาพลักษณ์ของโรงเรียนภัทรวิทยา อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ตามการรับรู้ของผู้ปกครองth_TH
dc.title.alternativeSchool image of Phathara Vittaya School, Mae Sot District, Tak Province as perceived by the parentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study school image of Phathara Vittaya School, Mae Sot district, Tak province as perceived by the parents; and (2) to compare perceptions of school image of Phathara Vittaya School, Mae Sot district, Tak province as perceived by the parents classified by their level of education, income, and occupation. Keywords: Image, Perception, Parent The sample consisted of 306 parents of students studying at Phathara Vittaya School, Mae Sot district, Tak province during the 2016 academic year, obtained by proportionate random sampling and simple random sampling. The employed research instrument was a rating scale questionnaire, with reliability coefficient of 0.89. Data were statistically analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and one-way analysis of variance. 1 The research findings showed that (1) both overall and by-aspect school images of Phathara Vittaya School, Mae Sot district, Tak province were rated by the parents at the high level, with the image receiving the top rating mean being that of creditability, followed by those of loyalty, and acceptability, respectively; (2) regarding comparison results of parents' perceptions as classified by their level of education, income and occupation, it was found that parents with different educational levels, incomes and occupations did not significantly differ in their perceptions of school image of Phathara Vittaya School, Mae Sot district, Tak province in the aspects of creditability, loyalty, and acceptabilityen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156372.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons