Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจรth_TH
dc.contributor.authorจีริสุดา แก้วประเสริฐ, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-29T04:15:15Z-
dc.date.available2023-03-29T04:15:15Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5161en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดมนุษยนิยมเพื่อฝึกความคิด สร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่าน อนุสรณ์จังหวัดสมุทรปราการได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดมนุษยนิยมเพื่อฝึกความคิดสร้างสรรค์( 2) แบบทดสอบวัด ความคิดสร้างสรรค์ที่มีค่าความเที่ยง .94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่า ที ผลการวิจัยพบว่า (1) ภายหลังการทดลองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มีความคิด สร้างสรรค์สูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดมนุษยนิยมเพื่อฝึกความคิด สร้างสรรค์อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (2) ภายหลังการทดลองความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ด้านความคิดคล่องแคล่ว ด้านความคิดริเริ่ม ด้านความคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออสูงขึ้น กว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดมนุษยนิยมเพื่อฝึกความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่านอนุสรณ์ จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a humanism-based guidance activities package to train creative thinking of upper secondary students at Luangpho Pan Khlongdan Anusorn School in Samut Prakan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาววิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare creative thinking scores of Mathayom Suksa IV students before and after undertaking humanism-based guidance activities to train creative thinking. The research sample consisted of 41Mathayom Suksa IV students at Luangpho Pan Khlongdan Anusorn School in Samut Prakan Province, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) a humanism-based guidance activities package to train creative thinking, and (2) a creative thinking test with reliability coefficient of .94. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) after the experiment, the post-experiment creative scores of Mathayom Suksa IV students who undertook humanism-based guidance activities were significantly higher than their pre-experiment counterparts at the .01 level; and (2) after the experiment, the students’ post-experiment creative thinking scores on the components of fluency, initiative, flexibility, and elaboration were significantly higher than their pre-experiment counterparts at the .01 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_132622.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons