Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5161
Title: ผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดมนุษยนิยมเพื่อฝึกความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่านอนุสรณ์ จังหวัดสมุทรปราการ
Other Titles: The effects of using a humanism-based guidance activities package to train creative thinking of upper secondary students at Luangpho Pan Khlongdan Anusorn School in Samut Prakan Province
Authors: นิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษา
จีริสุดา แก้วประเสริฐ, 2517-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณี
การแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอน
ความคิดสร้างสรรค์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
Issue Date: 2555
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดมนุษยนิยมเพื่อฝึกความคิด สร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่าน อนุสรณ์จังหวัดสมุทรปราการได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดมนุษยนิยมเพื่อฝึกความคิดสร้างสรรค์( 2) แบบทดสอบวัด ความคิดสร้างสรรค์ที่มีค่าความเที่ยง .94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่า ที ผลการวิจัยพบว่า (1) ภายหลังการทดลองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มีความคิด สร้างสรรค์สูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดมนุษยนิยมเพื่อฝึกความคิด สร้างสรรค์อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (2) ภายหลังการทดลองความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ด้านความคิดคล่องแคล่ว ด้านความคิดริเริ่ม ด้านความคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออสูงขึ้น กว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5161
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_132622.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons