Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5171
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุขth_TH
dc.contributor.authorพรทิพย์ อริยเดช, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-29T08:01:26Z-
dc.date.available2023-03-29T08:01:26Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5171en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในตำบลพังเทียม อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา และ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในตำบลพังเทียม อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบว่า (1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในตำบลพังเทียม อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา (1.1) การรับรู้ข่าวสารทางการเมือง มีการติดตามจากวิทยุโทรทัศน์ ร้อยละ 81.3 จากหนังสือพิมพ์ ร้อยละ 53.0 ผ่านทางเสียงตามสาย ร้อยละ 47.8 จากการสนทนา ร้อยละ 44.2 จากวิทยุกระจายเสียง ร้อยละ 42.3 (1.2) การมีส่วนร่วมทางการเลือกตั้งกลุ่มทีมีมาก เนื่องจาก ประชาชนมีความเชื่อ มีความศรัทธาต่อตัวนักการเมืองท้องถิ่น และมีความสนใจที่แตกต่างกันไปในกลุ่มของประชาชนในแต่ละท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมทางการเลือกตั้งกลุ่มทีมีน้อย เนื่องจาก ประชาชนถูกบีบบังคับให้ออกไปมีส่วนร่วมทางการเมืองหรือโดยไม่สมัครใจ (1.3) การมีส่วนร่วมผ่านระบบหัวคะแนนและซื้อสิทธิ์ ขายเสียง กล่าวคือ การแนะนาให้ทราบถึงผลดี ผลเสียของการซื้อสิทธิ์ ขายเสียง และนักการเมืองต้องมีจริยธรรม มีความพร้อมที่จะเป็นตัวแทนของประชาชน ซึ่งอยู่ในระดับค่าเฉลี่ย 4.23 มากเท่ากัน และด้านที่อยู่ในระดับปานกลางมีระดับค่าเฉลี่ย 3.33 คือ เมื่อมีการเลือกตั้งนักการเมืองและประชาชนมีการซื้อสิทธิ์ ขายเสียง (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในตำบลพังเทียม อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ การรับรู้ข่าวสารทางการเมือง และสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น “ไม่มีผล” ต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง แต่อย่างใดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.subjectการเมือง--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในตำบลพังเทียม อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting of political participation by citizens of Pangtiam Sub-District, Phra Thong Kham District, Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) political participation of citizens in l Pangtiam Sub-district, Phra Thong Kham District, Nakhon Ratchasima Province; and (2) factors that affect political participation of citizens in Pangtiam Sub-district, Phra Thong Kham District, Nakhon Ratchasima Province. This was a quantitative research. The sample population, chosen by group sampling, consisted of 385 residents of Pangtiam Sub-district, Phra Thong Kham District, Nakhon Ratchasima Province. Data were collected using a questionnaire and analyzed using the descriptive statistics of frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results showed that (1) Political participation: (1.1) The samples reported that they received political news from television (81.3%), newspapers (53.0%), public announcements (47.8%), personal conversations (44.2%), and from radio (42.3%). (1.2) The portion of samples who participated in elections to a high degree said it was because they believed and had faith in local politicians, and because people in different areas have different interests. The portion of samples who participated little in elections said it was because they felt that citizens were forced to participate and did not do so voluntarily. (1.3) Regarding the samples’ views on vote buying, most strongly agreed (mean 4.23 points) that they were informed of the advantages and disadvantages of vote buying and that politicians should be ethical and should be ready to be representatives of the people. The majority agreed (mean 3.33 points) that vote buying occurred during elections. (2) Factors that affected political participation: the factors of sex, age, status, educational level, income, profession, perception of political news, and local environment were not found to be related to the level of political participation.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128246.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons