Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/517
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ สุธรรมาสาth_TH
dc.contributor.authorพนิดา ชลังสุทธิ์, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T08:12:54Z-
dc.date.available2022-08-11T08:12:54Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/517-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractวัตถุประสงคการวิจัยครั้งนี้เพื่อ (1) คึกษาองฅ์ประกอบร่วมของข้อกำหนดที่สามารถใช้ร่วมกันได้ในระบบบริหารคุณภาพ (ISO 9001:2000) ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001: 1996) และระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก.18001: 2542) (2) ศึกษาวิธีการ และแนวทางในการปฏิบัดิของการรวมข้อกำหนด ในบริษัทที่ได้มีการรวมระบบทั้งสามเข้าด้วยกัน (3) ศึกษาข้อดี ปัญหาอุปสรรค ของการรวมระบบการบริหารทั้งสามระบบ และ (4) วิเคราะห์หาแนวทางในการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ เมื่อมีการรวมระบบการบริหารจากการสำรวจบริษัทที่ได้รับการรับรอง และมีการรวมระบบบริหารทั้งสามเข้าด้วยกัน พบว่ามีทั้งหมด 8 บริษัท จากนั้นจึงคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 6 บริษัท โดยเครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึกซึ่งได้จากการวิเคราะห์ข้อกำหนดของทั้งสามระบบและได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 6 ท่าน แล้วนำไปสัมภาษณ์ตัวแทนของบริษัทกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งครอบคลุมตัวแทนฝ่ายบริหาร ผู้ควบคุมเอกสาร ผู้ตรวจประเมิน ภายใน และพนักงานในแต่ละแผนกที่นำเอกสารไปปฏิบัติ ผลการวิจัยพบว่า (1) ข้อกำหนดที่ควรนำมาประยุกต์ร่วมกันได้เป็นข้อกำหนดที่มีเนื้อหาไกล้เคียงกันของทั้งสามระบบ ได้แก่ เรื่องนโยบาย กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ โครงสร้างและความรับผิดชอบการฝึกอบรม จิตสำนึกและความสามารถ การสื่อสาร การบำรุงรักษา การสอบเทียบ การจัดซื้อจัดจ้างการควบคุมเอกสาร การควบคุมบันทีก การแก้ไขป้องกัน การตรวจประเมิน และการทบทวนของฝ่ายบริหาร (2) แนวทางในการปฏิบัติของการรวมข้อกำหนดไร้วิธิการเขียนเอกสารซึ่งสามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งสามระบบ และนำไปปฏิบัติใน ทิศทางเดียวกัน (3) การรวมกันดังกล่าวมีข้อดีคือลดระยะเวลาในการทำงานซ้ำซ้อนและทำให้การดำเนินงานเป็นแนวทางเดียวกัน ส่วนปัญหาอุปสรรคที่พบคือ เอกสารที่ครอบคลุมเนื้อหาของทั้งสามระบบ อาจเกิดความสับสนได้ในบางประเด็น (4) บริษัทที่มีแนวโน้มจะรวมระบบการบริหารทั้งสามเข้าด้วยกันสามารถนำข้อกำหนดที่มีเนื้อหาที่ใกล้เคียงกัน นำมาประยุกต์ให้เหมาะสมกับการดำเนินงานขององค์กรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectระบบบริหารงานคุณภาพth_TH
dc.subjectการจัดการสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.titleการวิเคราะห์แนวทางปฏิบัติและปัญหาอุปสรรค ในการรวมระบบบริหารคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในภาคอุตสาหกรรมth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study common requirements that could be integrated among the Quality Management System (ISO 9001: 2000), Environmental Management System (ISO 14001:1996) and Occupational Health and Safety Management System (TIS 18001: 1999); (2) to study method and implementation guideline in an integration of the requirements among the companies with 3 systems integration; (3) to study benefits and obstacles of such integration; and (4) to analyse a guideline for efficient implementation after 3 systems integration. Among the certified companies, there were 8 companies which implemented by the integration of these three standards. Six of those were purposely selected as the study samples. An in-depth interview questionnaire, analyzed from the requirements of the three systems and then validated by 6 experts, was used as an instrument to interview representatives from the company samples covering management representatives, document controllers, internal auditors and employees in departments where documents were implemented. The study indicated that (1) requirements applied for the integration consisted of similar content requirements of these systems including policy, legal and other requirements, structure and responsibility, training, awareness and competence, communication, preventive maintenance, calibration, purchasing and procurement, control of documents, control of records, corrective and preventive actions, internal audit and management review; (2) implementation guideline for the integration was creation of documents jointly compatible with the three systems and being implemented in the same direction; (3) the integration had benefit of less time for work repetition as well as unified implementation while possible confusion in some aspects of the integrated system documents was an obstacle observed; and (4) companies with tendency towards integration could consider applying the similar content requirements for appropriate implementation as organization needsen_US
dc.contributor.coadvisorศริศักดิ์ สุนทรไชยth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79053.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons