Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5204
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิรนาท แสนสา | th_TH |
dc.contributor.author | นิคม ทิพย์การเงิน, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-30T07:52:39Z | - |
dc.date.available | 2023-03-30T07:52:39Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5204 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การออกกลางคันและการกลับเข้า ศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นนักเรียนที่เคยออกกลางคัน และกลับเข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 15 ราย ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า ประสบการณ์การออกกลางคันและการกลับเข้าศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) การประสบปัญหาระหว่างเรียน ประกอบด้วย 4 ประเด็นย่อย คือ ปัญหากับตัวเอง ปัญหาครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจและสังคม และ ปัญหากับครู 2) การพ้นสภาพการเรียน ประกอบด้วย 2 ประเด็นย่อย คือ ชีวิตที่คิดว่าดีหลังหนีปัญหา และปัญหาเก่าหมดไปปัญหาใหม่เข้ามา 3) การกลับเข้าสู่การเรียน ประกอบด้วย 2 ประเด็นย่อย คือ การตระหนักรู้ด้วยตนเอง และการได้รับแรงกดดันจากสังคม และ 4) การศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประกอบด้วย 2 ประเด็นย่อย คือ ประสบการณ์การเรียน กศน. และสิ่งที่ได้รับจากการเรียน กศน. | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การออกกลางคัน | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--การลาออก | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา | th_TH |
dc.title | ประสบการณ์การออกกลางคันและการกลับเข้าศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | Dropout and reenrollment experiences of Secondary School students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the dropout and reenrollment experiences of secondary school students. This research was a qualitative research. Key informants were 15 students who had dropout experience and then reenrolled for study at the secondary education level in non-formal and informal education centers. They were purposively selected based on some particular criteria. Data were collected from a focus group discussion involving the 15 students, and were analyzed with content analysis. The research results revealed that the dropout and reenrollment experiences of secondary school students comprised four main issues: (1) facing problems while studying, which included four following sub-issues: problems with oneself, problems with the family, economic and social problems, and problems with the teachers; (2) the dropout experience, which included two sub- issues: the life expected to be good after evading the problems, and old problems disappeared but new problems occurred; (3) the reenrollment experience, which included two subissues: self-realization, and receiving pressure from the society; and (4) the study in the non-formal and informal education system, which included two sub- issues: the non- formal and informal education learning experience, and the results of learning in the non-formal and informal education system. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_155602.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License