Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/520
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอารีรักษ์ มีแจ้ง-
dc.date.accessioned2022-08-11T08:19:31Z-
dc.date.available2022-08-11T08:19:31Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 1-14th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/520-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่อง การสอนกลวิธีการอ่าน สำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา และ 2) ศึกษาผลการใช้ชุดฝึกอบรมผ่านเว็บที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นครูผู้สอนภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สนใจสมัครเข้ารับการอบรม จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบประเมินคุณภาพชุดฝึกอบรมผ่านเว็บ (2) ชุดฝึกอบรมผ่านเว็บ (3) แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสอนกลวิธีการอ่าน (4) แบบบันทึกสะท้อนคิดการจัดการเรียนรู้ และ (5) แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่อง การสอนกลวิธีการอ่าน สำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา ประกอบด้วยนวัตกรรม 2 ชิ้น คือ ชุดฝึกอบรมผ่านเว็บ และคู่มือการใช้งาน ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพของชุดฝึกอบรมและคู่มือการใช้งานว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ 2) ครูผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสอนกลวิธีการอ่านหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้อมูลจากแบบบันทึกสะท้อนคิดการจัดการเรียนรู้แสดงให้เห็นว่า ครูสามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามแนวคิดของการสอนกลวิธีการอ่าน บรรลุเป้าหมายในการสอน มีความเข้าใจและมั่นใจในการสอน และเห็นประโยชน์ของการสอนกลวิธีการอ่าน จุดด้อยของการสอนกลวิธีการอ่านไม่ได้เกิดจากปัญหาของการสอน แต่เป็นปัญหาของตัวครูที่ใช้เวลาในการเตรียมตัวสอน ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกลวิธี และจัดหาสื่อเพิ่มเติม นอกจากนี้ยังพบว่า โดยรวมครูมีความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมผ่านเว็บในระดับมากth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectสื่อการสอนth_TH
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่อง การสอนกลวิธีการอ่านสำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a web-based training package on reading strategy instruction for english language teachers at Secondary Education Levelth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to 1) develop a web-based training package on reading strategy instruction for English language teachers at secondary education level, and 2) study results of experimenting with the developed training package. The samples comprised 33 English language teachers in secondary schools under the Office of the Basic Education Commission voluntarily participating in the training. The employed research instruments were (1) an evaluation form for quality assessment of the web-based training package, (2) a web-based training package, (3) a test on knowledge and understanding of reading strategy instruction, (4) a teacher diary for reflective thinking on learning management, and (5) a scale to assess the trainees’ satisfaction. The data were analyzed using the mean, standard deviation, t-test, and content analysis. The research results were as follows: 1) The developed web-based training package on reading strategy instruction for English language teachers at secondary education level consisted of 2 innovations: a web-based training package and a manual. The experts evaluated the overall quality of the training package and the manual at the highest level. 2) The post-training mean score on knowledge and understanding of reading strategy instruction of the trainees was significantly higher than their pre-training counterpart mean score at the .05 level of statistical significance. The information from the trainees’ diary on learning management revealed that they were capable of conducting the instructional activities based on the concept of reading strategy instruction. They achieved their teaching goals, had understanding and confidence in teaching, and realized the benefits of reading strategy instruction. In their view, the weakness of reading strategy instruction did not arise from the instructional problems, but from the teachers themselves as they reflected that it took time to prepare a lesson, to understand the strategies, and to procure additional media. Moreover, the teachers rated their satisfaction with the training package at the high levelen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
43324.pdfเอกสารฉบับเต็ม447.56 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons