Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5243
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิมth_TH
dc.contributor.authorธนิตศักดิ์ ลิ้มสุวรรณภัทร์, 2498-th_TH
dc.date.accessioned2023-03-31T03:43:33Z-
dc.date.available2023-03-31T03:43:33Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5243en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความฉลาดทางสังคม ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวของผู้ต้องขังที่กระทำผิดวินัยกลุ่มทดลอง (2) เปรียบเทียบความฉลาดทางสังคมหลังการทดลอง ระหว่างผู้ต้องขังที่กระทำผิดวินัยกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมและ (3) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางสังคมรูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทคลอง มีกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังเรือนจำกลางบางขวาง แดน 6 จังหวัดนนทบุรี จำนวน 30 คน ที่มีคะแนนจากแบบวัดความฉลาดทางสังคมตั้งแต่เปอร์เซ็น ไทล์ที่ 50 ลงมาและสมัครใจเข้าร่วมการทดลองจากนั้นจึงสุ่มอย่างง่าย เพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จำนวน กลุ่มละ 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดความฉลาดทางสังคม ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 84 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางสังคม และ (3) แบบวัดความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางสังคม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที่ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางสังคม มีความฉลาดทางสังคมสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีความฉลาดทางสังคมสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) ความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางสังคมของกลุ่มทดลองอยู่ในระดับมาก.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectความฉลาดทางสังคมth_TH
dc.subjectนักโทษth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางสังคมของผู้ต้องขังที่กระทำผิดวินัย เรือนจำกลางบางขวาง จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop social intelligence of prisoners Who violated discipline in Bang Kwang Central Prison, Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare social intelligence levels of the experimental group prisoners before and after using a guidance activities package to develop social intelligence; (2) to compare social intelligence levels after using the guidance activities package of the experimental and control group prisoners; and (3) to study satisfaction with the guidance activities package to develop social intelligence. The research design was the quasi-experimental research with an experimental group and a control group. The research sample consisted of 30 prisoners in Area 6 of Bang Kwang Central Prison, Nonthaburi province who had social intelligence scores below the 50th percentile and volunteered to participate in the experiment. Then, they were randomly assigned into an experimental group and a control group, each of which containing 15 prisoners. The employed research instruments were (1) a social intelligence assessment scale, with reliability coefficient of .84;(2) a guidance activities package to develop social intelligence; and (3) a questionnaire on satisfaction with the guidance activities package to develop social intelligence. Data were analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The findings revealed that (1) after the experiment, the experimental group prisoners who used the guidance activities package to develop social intelligence had post-experiment social intelligence level significantly higher than their pre- experiment counterpart level at the .01 level; (2) after the experiment, the experimental group had social intelligence level significantly higher than the counterpart level of the control group prisoners at the .01 level; and (3) the experimental group prisoners’ satisfaction with the guidance activities package to develop social intelligence was at the high level. Keywords: Guidance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_164020.pdfเอกสารฉบับพิมพ์18.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons