Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เกยุรานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorโกวิน วิวัฒนพงศ์พันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัชราภรณ์ สายทอง, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T08:38:00Z-
dc.date.available2022-08-11T08:38:00Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/524-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการรับ (และการได้รับการปฏิบัติตามสิทธิของผู้ป่วย (2) เปรียบเทียบความการรับรู้สิทธิผู้ป่วยตามลักษณะงานหอผู้ป่วย ลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะการใช้บริการ และลักษณะการรับรู้ข้อมูลเรื่องสิทธิผู้ป่วย และ (3) เปรียบเทียบการได้รับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยตามลักษณะงานหอผู้ป่วย ลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะการใช้บริการ และลักษณะการรับรู้ข้อมูลเรื่องสิทธิผู้ป่วยของผู้ป่วยในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาในครั้งนี้ เป็นผู้ป่วยในที่เข้ารับการรักษาในงานหอผู้ป่วยศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ จักษุ-โสต-ศอ-นาสิก สูติ-นรีเวชกรรม กุมารเวชกรรมและอายุรกรรมที่ได้รับการคัดเลือกตัวอย่างแบบโควต้า ตามสัดส่วนผู้ป่วยของแต่ละงานหอผู้ป่วย จำนวนตัวอย่าง 380 คน การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลใช้การสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบครัสคัลวอลลิส การทดสอบแมนน์วิทนีย์ ยู การทดสอบค่าที และการวัคความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ป่วยในของโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงศ์ส่วนใหญ่มีการรับรู้สิทธิผู้ป่วยอยู่ในระดับมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 86.2 และได้รับการปฏิบัติตามสิทธิของตนอยู่ในระดับมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 88.3 (2) ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในงานหอผู้ป่วยต่างกัน มีอายุการศึกษา อาชีพ ประสบการณ์การได้รับข้อมูลเรื่องสิทธิผู้ป่วย และระยะเวลาของการนอนในโรงพยาบาลต่างกัน มีการรับรู้สิทธิผู้ป่วยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้ป่วยที่มีเพศ รายได้ ประสบการณ์การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ประสบการณ์การเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วย และความถี่ของการได้รับข้อมูลเรื่องสิทธิผู้ป่วยต่างกัน มีการรับรู้สิทธิผู้ป่วยไม่แตกต่างกัน และ (3) ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในงานหอผู้ป่วยต่างกัน มีประสบการณ์การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และประสบการณ์การได้รับข้อมูลเรื่องสิทธิผู้ป่วยต่างกัน ไต้รับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้ป่วยที่มีเพศ อายุ การศึกษาอาชีพ รายได้ ประสบการณการเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วย ระยะเวลาของการนอนในโรงพยาบาล และความถี่ของการได้รับข้อมูลเรื่องสิทธิผู้ป่วยต่างกัน ได้รับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการรับรู้และการได้รับการปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วยของผู้ป่วยในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this, research were (1) to study the perceived and received Patients’ Rights Practice; (2) to compare their perceived Patients’ Rights Practice between departments, personal characters, health service utilization patterns and patterns of their received Patients’ Rights Practice information; (3) To compare their received Patients’Rights Practice between departments, personal characters, health service utilization patterns and patterns of their received Patients’ Rights Practice information of the in-patients at Sappasittiprasong Hospital, Ubonratchathanee Province. The 380 studied subjects selected by using Quota Sampling of the patients in each Department consisted of in-patients who admitted during July to August 2002 in the Department of Surgery, Orthopedics, Ear-Eye-Nose-Throat, Obstetric and Gynecology, Pediatric, and Medicine. Data were collected by interview questionnaires and analyzed by using percentage, mean, Kruskal Wallis test, Mann Whitney test, t-test, and one-way ANOVA. The findings were as follows (1) most of the in-patients at Sapprasittiprasong Hospital had high level of perception with mean score of 86.2 % and reception with mean score of 88.3% of the Patients’ Rights Practice; (2) there was a significant difference of the in-patient perception about the Patients’ Rights at 0.05 level among different departments, age, education, occupation, experience about the Patients’ Rights and period of hospital admission; whereas patients who were different in sex, income, experiences of hospital and department admission, hospital visiting, frequency of the perceived Patients’ Rights information had no difference in perceived about the Patients’ Rights; and (3) there was a significant difference of the in-patient’s received the Patients’ Rights Practice at 0.05 level among different admitted departments, experiences of hospital admission and received Patient’s Rights infoirnation; whereas patients who were different in sex, age, education, occupation, income, experience of department, period of hospital admission and frequency of the received of The Patients’ Rights information had no difference in receiving about the Patients’ Rights Practiceen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79054.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons