กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5267
ชื่อเรื่อง: บทบาทในการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหารโรงเรียนในเครือข่ายพัฒนาคุณภาพวิชาการพูนพิน 2 สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสุรษฎร์ธานี เขต 2
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The roles of administrators in promoting the learner-centered instructional process of Phunphin 2 academic quality development network under the office of Surat Thani Educational Service Area 2
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: กล้า ทองขาว, อาจารย์ที่ปรึกษา
สมโพช พรหมพันธ์, 2503-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณี
การเรียนรู้
การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา
การบริหารการศึกษา
การสอน
วันที่เผยแพร่: 2550
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทในการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหาร และครูผู้สอนต่อบทบาทในการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือผู้บริหารและครูผู้สอนในเครือข่ายพัฒนาคุณภาพวิชาการพูนพิน 2 สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 2 ปีการศึกษา 2550 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า การวิเคราะห์ข้อมูลใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงแบนมาตรฐาน และค่าความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารมีบทบาทในการส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าผู้บริหารมีบทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอยู่ในระดับมากทุกด้าน (2) ผู้บริหารและครูผู้สอนที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทในการส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหารไม่แตกต่างกัน ทั้งในภาพรวมและรายด้าน
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5267
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
113323.pdf4.2 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons