Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/528
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดา ตั้งบรรลือกาล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมชาย รุ่งเรือง, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T09:03:19Z-
dc.date.available2022-08-11T09:03:19Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/528-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการ ชนิดและปริมาณของเสียอุตสาหกรรมจากแหล่งกำเนิดต่าง ๆ ของโรงงานผลิตผลไม้และผักกระป๋อง (2) พัฒนาแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรมของโรงงานผลิตผลไม้และผักกระป๋อง และ (3) เปรียบเทียบชนิด ปริมาณของเสียอุตสาหกรรม และค่าใช้จ่ายในการกำจัดของเสีย ก่อนและหลังดำเนินการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรม ในการศึกษาครั้งนี้ได้สำรวจสภาพปัจจุบันของโรงงานผลิตผลไม้และผักกระป๋อง จำนวน 1 โรงงาน ในจังหวัดราชบุรี โดยทำการศึกษากระบวนการผลิตแหล่งกำเนิดของของเสียอุตสาหกรรมหลัก 19 ชนิด และทำการสัมภาษณ์เพื่อทดสอบความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรมของบุคลากรในโรงงาน 1 ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่ายโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเฌ จำนวน 119 คน โดยเป็นพนักงานระดับบริหาร จำนวน 2 คน ระดับหัวหน้างาน จำนวน 32 คน และพนักงานทั่วไป จำนวน 85 คน ข้อมูลที่ได้นำไปใช้ในการกำหนดแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรม ซึ่งต้องมีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรมแก่พนักงาน มีการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรมแล้วให้โรงงานได้ปฏิบัติตามแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรม หลังจากการดำเนินการ 2 เดือน ได้เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลก่อนและหลังดำเนินการตามแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรม โดยใช้สถิติร้อยละ การแจกแจงความถี่ คำเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษามีดังนี้ (1) โรงงานไม่มีระบบการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรม ไม่มีการระบุแหล่งกำเนิดของของเสียอุตสาหกรรมหลัก 19 ชนิด ปริมาณรวม 5,651 กิโลกรัม (2) ได้พัฒนาแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรมโดยอิงกฎหมาย องค์การพิทักษ์สิ่งแวดล้อมโลกของประเทศสหรัฐอเมริกาให้โรงงานได้ปฏิบัติตามพบว่าโรงงานได้มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาขี้นหลังจากทำการอบรมพนักงานส่วนใหญ่มีความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องมากขึ้นตามแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรม และ (3) หลังทำเน้นการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรม โรงงานมีการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรมที่เป็นระบบ มีการระบุแหล่งกำเนิดของของเสียอุตสาหกรรม โดยมีชนิดของของเสียอุตสาหกรรมเท่าเติม แต่มีปริมาณลดลงร้อยละ 23.65 และค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรมไม่แตกต่างจากเดิม แม้ว่ามีของเสียอุตสาหกรรม 19 ชนิดเท่าเดิมแต่มีปริมาณลดลงทำใหัโรงงานมีรายได้จากการขายของเสียอุตสาหกรรม ประเภทที่นำกลับมาใช้ใหม่จากเดิม 969 บาท ลดลงร้อยละ 38.70 ซึ่งนำไปสู่การพัฒนาการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรมที่เป็นระบบมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleแนวทางการบริหารจัดการของเสียอุตสาหกรรมของโรงงานผลิตผลไม้และผักกระป๋องth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the existing situation of management, type and quantity of industrial waste from different waste generated sources of a canned fruit and vegetable factory; (2) to develop a guideline for industrial waste management for a canned fruit and vegetable factory; and (3) to compare type and quantity of industrial waste and waste disposal cost before and after the implementation which followed the proposed guideline for industrial waste management. The study was started with the survey of the existing industrial waste management of a canned fruit and vegetable factory 1 factory in Ratchaburi Province. The survey included studying the operating processes, identifying the waste generated sources which had 19 types of main industrial wastes and interviewing employees to test their knowledge and attitudes regarding the guideline for industrial waste management in the factory. A total of 119 employees including 2 executives, 32 supervisors and 85 general employees were simple sampled by using Taro Yamane mathod. The results from the interview were used to develop a guideline for industrial waste management. A training proposed by the guideline was provided knowledge for employees on industrial waste management. The training was included the pre-test and post test. The guideline was then implemented in the factory. After 2 months of the implementation, the follow- up was made to collect the data for comparing the industrial waste management before and after the implementation. The data were analyzed by using percentage, frequency, average and standard deviation. The results of the study were as follows: (1) the factory did not have industrial waste management, did not identify the waste generated sources of 19 types of the main industrial wastes with total weight of 5,651 kilograms.; (2) a guideline for industrial waste management by following the applicable Laws, US EPA and the World Bank was developed for the factory to implement. The implementation of the proposed guideline was conducted and it had been more developmental change. After the training, knowledge and attitude were more correct followed the guideline for industrial waste management; and (3) after the implementation, the factory' had industrial waste management system and could identify the waste generated sources. The types of main industrial wastes remained the same, but the quantity reduced 23.65 %. The waste disposal cost was not different. Although there were 19 types of industrial wastes, the quantity was reduced. This resulted in the reduction of revenue 38.70% from selling the recycling industrial waste of 969 Baht which would lead the factory to develop a better industrial waste management systemen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79055.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons