Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/530
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมสรวง พฤติกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมพร พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพวา พันธุ์เมฆา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งอรุณ สิงคลีประภา, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T09:37:38Z-
dc.date.available2022-08-11T09:37:38Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/530-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการใช้และการไม่ใช้ วิธีการใช้ ความคิดเห็น และปัญหาการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ได้รับแบบสอบถามคืน 388 ชุด โดยเป็นอาจารย์ 93 คน นักศึกษาปริญญาเอก 69 คน และนักศึกษาปริญญาโท 226 คน สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ที-เทสต์และความแปรปรวนทางเดียว โดยเปรียบเทียบรายคู่ด้วยสถิตินิวแมน-คูลส์ ผลการวิชัยพบว่าอาจารย์ร้อยละ 66.7 และนักศึกษาร้อยละ 63.4ใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์ วัตถุประสงค์ที่อาจารย์ใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดิดตามความรู้ใหม่ เป็นความก้าวหน้าในสาขาวิชาตนเอง และนักศึกษาใช้เพื่อทำวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ อาจารย์ร้อยละ 33.3 และนักศึกษาร้อยละ 36.6 ไม่ใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์เหตุผลที่อาจารย์และนักศึกษาไม่ใช้คือ ชอบอ่านบทความบนกระดาษมากกว่าจอคอมพิวเตอร์ไม่ทราบวิธีการใช้ให้เข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส์ และไม่สะดวกใช้คอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ต วิธีการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์ คือ อ่านบทความฉบับเต็มในสาขาวิชาที่สนใจ มีวิธีการค้นหาโดยการเรียน (ด้วยตนเองจากประสบการณ์ลันหาบนอินเทอร์เนีด ทราบแหล่งใช้บริการวารสารอิเล็กทรอนิกส์จากการประชาสัมพันธ์บนโอมเพจ/เอกสารของห้องสมุดคณะ/สถาบัน/วิทยาลัย ใช้โปรแกรมค้นหาเป็นชํองทางในการเข้าถึงแหล่งวารสารอิเล็กทรอนิกส์ และนักศึกษามีวิธีการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์ คือ อ่านบทความ หน้าจอคอมพิวเตอร์และเลือกพิมพ์ผลที่ต้องการ เลือกอ่านเฉพาะบทความฉบับเต็มวารสารในสาชาวิชาที่สนใจ ส่วนวิธีการค้นหาและการเรียน (ถึงแหล่งวารสารเหมือนกับอาจารย์ ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์คือ เข้าถึงบทความได้จากที่ทำงานหรือบ้าน ส่วนนักศึกษาเห็นว่าประหยัดกว่าการใช้วารสารฉบับพิมพ์ ทั้งอาจารย์และนักศึกษามีปัญหาการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์เหมือนกัน คือ การไช้ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์และเครือข่าย และการเข้าถึงฐานข้อมูลมีข้อจำกัดการทดสอบสมมุดิฐานพบว่า อาจารย์ที่มีฅำแหน่งทางวิชาการและวุฒิการศึกษาต่างกัน มีวิธีการใช้ความคิดเห็นและปัญหาการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิดิที่ระดับ .05 และนักศึกษาที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีวิธีการใช้และปัญหาการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.5-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวารสารอิเล็กทรอนิกส์--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลth_TH
dc.title.alternativeThe use of electronic jounals by Faculty Members and Graduate Students in Social Sciences and Humanities at Mahidol Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.5-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the use and non-use of electronic journals or e-journals, methods, opinions and problems on using e-journals by faculty members and graduate students in Social Sciences and Humanities at Mahidol University. Questionnaires were used as the tools for data collecting. 388 questionnaires were completed: 93 faculty members, 69 doctor's degree students and 226 master’s degree students. The statistics used for data analysis were descriptive statistics, t-test, One Way Analysis of Variance and Newman-Keuls paired-wise comparisons. The research results were that 66.7 per cent of the faculty members and 63.4 per cent of graduate students used electronic journals. The faculty members used e-journals to keep up with current knowledge in their areas of study and graduate students used e-journals with the purpose of conducting their research or writing up theses. Meanwhile, 33.3 per cent of faculty members and 36.6 per cent of graduate students reportedly did not use e-journals, giving reasons that they preferred reading articles in printed format, they did not know how to access e-journals and it was not convenient to use computers or the Internet. The method the faculty members used e-journals was to read full articles and learned by themselves how to search e-journals via the Internet. They knew where to access e-journals from the Library’s or their faculties’ webpages. The method used to access e-journals by the graduate students were to read articles on-screen then printed them out and selected only the articles in which they were interested. They* used the same methods as the faculty members for searching for articles in e-journals. The opinions of faculty members on using e-journals were that they were able to access e-journals via their homes or offices. Meanwhile the opinions of the graduate students were that e-journals were cheaper than printed journals. Both faculty members and graduated students found that the problems in using e-journals were that the access depended very much on the computers and network and the limitations of database access. The test of hypotheses showed that the faculty members with different academic titles and educational levels had different methods, opinions and problems in using c-journals with statistical significance at the level of 0.5. The graduate students with different educational degrees also had different methods, opinions and problems in using e-journals with statistical significance at the level of 0.5en_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons