Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวราภรณ์ จอมทิพย์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-03T07:46:56Z-
dc.date.available2023-04-03T07:46:56Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5318-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน และ ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคาย โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีเส้นทาง-เป้าหมายของเฮาส์ ซึ่งได้ แบ่งแบบภาวะผู้นำออกเป็น 4 แบบ คือ แบบสนับสนุน แบบสั่งการ แบบมุ่งความสำเร็จของงาน และแบบให้มีส่วนร่วม และความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านการได้รับการยอมรับ ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่ง ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านเงินเดือน หรือ ผลประโยชน์เกื้อกูล และด้านสภาพการทำงาน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นบุคลากร สำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคาย จำนวน 164 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ บุคลากร สำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคาย และแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร สำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคาย ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยมีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ และมาตรา ส่วนเบี่ยงเบน มีค่าความเชื่อมั่น 0.932 และ 0.942 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่ารัอยละ คำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์เแบบเพียรสันระหว่างแบบภาวะผู้นำของ ผู้บริหารโรงเรียนกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานเกษตรจังหวัด หนองคาย ผลการศึกษาพบว่า(1) บุคลากรสำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคาย มีความพึง พอใจในการปฏิบัติงานในระดับปานกลาง (2) แบบภาวะผู้นำทั้ง 4 แบบ มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคาย อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.361-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคาย--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานเกษตรจังหวัดหนองคายth_TH
dc.title.alternativeRelationship between administrators' leadership styles and job satisfaction of personnel of the Nongkhai Province Agricultural Extension Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.361-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were was to study the level of job satisfaction and the relationship between administrators’ leadership styles and job satisfaction of the personnel of the Nongkhai Province Agricultural Extension Office. House’s Path - Goal theory was used as the basis of the conceptual framework of this study 1which was divided into four types ะ supportive, directive, achievement oriented and participative . Six parameters were used to measure job satisfaction ะ achievement, recognition, advancement, characteristics of work performance , salary or fringe benefits, and working condition. Research samples were 164 personals in the Nongkhai Province Agricultural Extension Office .Data collection was carried via questionnaire items on administrators’ job satisfaction and the leadership styles . The data were analyzed by statistical package program as percentage, mean, standard deviation and Pearson’s Product Moment Correlation coefficient between leadership styles and personal job satisfaction. The reliability of the questionnaire on leadership styles and job satisfaction was tested by Cronbach’s Coefficient Alpha. The results of which were 0.932 and 0.942 respectively. The results of this study were found that ;(1) Job satisfaction of personal in the Nongkhai Province of Agricultural Extension Office was at the moderate level ,(2) There was a positive relationship between job satisfaction and leadership styles at the Statistically significant level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107647.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons