Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5357
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประมวล บัวกฎ, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-04T02:36:54Z-
dc.date.available2023-04-04T02:36:54Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5357-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไป สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ 2) สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3) ระดับความสำคัญของเหตุผลในการผลิต 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะ การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 5) ความต้องการความรู้และช่องทางการส่งเสริม และ 6) วิเคราะห์แนวทางการส่งเสริม ประชากรเป็นเกษตรกรในตำบลแสนสุขที่ขึ้นทะเบียนปี 2561/62 กับสำนักงานเกษตรอำเภอวารินชำราบ จานวน 114 คน สุมตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงเป็นเกษตรกรที่มีรายชื่อและแปลงปลูกจากระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) จำนวน 72 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 51.33 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีอาชีพหลักในภาคเกษตร รายได้จากภาคเกษตร 125,888.89 บาทต่อปี รายจ่ายภาคเกษตร 37,416.67 บาทต่อปี เป็นหนี้ ธ.ก.ส. มากที่สุด เฉลี่ย 117,000.00 บาทต่อคน ฝึกอบรมกับกรมส่งเสริมการเกษตร ได้รับข่าวสารจากเพื่อนบ้าน และจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐตามลำดับ 2) มีประสบการณ์ในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 8.56 ปี พื้นที่ปลูก 9.43 ไร่ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ 600-700 กิโลกรัมต่อไร่ ปลูกระยะ 60x25 เซนติเมตร ใส่ปุ๋ยเคมี 3 ครั้ง คือ ใส่รองพื้นสูตร 15-15-15 จานวน 34.41 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่แต่งหน้าอายุ 30 วัน สูตร 46-0-0 จำนวน 40.44 กิโลกรัมต่อไร่ และใส่อายุ 45 วัน สูตร 46-0-0 ร่วมกับสูตร 21-4-21 จำนวน 49.81 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 1,567.74 กิโลกรัมต่อไร่ ขายกิโลกรัมละ 6.81 บาท รายได้ 10,256.89 บาทต่อไร่ และมีต้นทุน 3,755.70 บาทต่อไร่ 3) เหตุผลสำคัญระดับมากต่อการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ คือ ความสะดวกในการรับซื้อและสนับสนุนปัจจัยการผลิต 4) มีปัญหาระดับมากที่สุด ในด้านปุ๋ยเคมี สารเคมี และเมล็ดพันธุ์ มีราคาแพง เสนอให้มีการรวมกลุ่ม ถ่ายทอดการเพิ่มผลผลิตและจัดหาปัจจัยการผลิต 5) ความรู้ที่เกษตรกรต้องการในระดับมาก คือ การดูแลรักษา เตรียมการเพาะปลูก และการจำหน่ายมีผ่านแผ่นพับ โปสเตอร์ และ สื่อบุคคล 6) แนวทางการส่งเสริม คือนักส่งเสริมที่เป็นสื่อบุคคลในหน่วยงานราชการ และภาคเอกชน ทำหน้าที่นาข้อมูลข่าวสารที่เป็นโครงการของรัฐ การสนับสนุนปัจจัยการผลิต การเข้าถึงแหล่งทุน ความรู้ในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผ่านสื่อบุคคล สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไปสู่เกษตรกรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวโพด--ไทย--อุบลราชธานี--การผลิต.th_TH
dc.titleการส่งเสริมการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรในตำบลแสนสุข อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeExtension of maize production for farmers in Saen Suk Sub-district, Warin Charab District, Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) general, social, and economic conditions 2) maize production conditions 3) level of importance of reasons in production 4) problems and suggestions in maize production 5) needs of knowledge and extension channels and 6) extension guideline analysis. The population of 114 people was farmers in Saen Suk sub-district who registered with agricultural office at Warin Chamrab district in the year 2018/2019. The sample size of 72 people was determined by using purposive sampling. They were farmers who were on the name list and the crops were from GIS system. Quantitative data was analyzed by using descriptive statistics such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, and standard deviation while qualitative data was analyzed by using content analysis. The results of the research showed that 1) most of the farmers were male with the average age of 51.33 years and completed primary school education. Their main profession was in agricultural sector. The income from agricultural sector was 125,888.89 Baht/year and the expense from agricultural sector was 37,416.67 Baht/year. They were in debt with the BAAC the most with the average amount of 117,000.00 Baht per person. They trained with department agricultural extension and received news from neighbors and governmental agricultural extension officer respectively. 2)Farmers had the average production experience of 8.56 years, had the average production area of 9.43 Rai, and used organic fertilizer approximately 600-700 kilogram/Rai. The cultivation distance was at 60x25 cm2. The chemical fertilizers were applied 3 times: applied to coat the soil using 15-15-15 with the amount of 34.41 kilogram/Rai, applied to cover the surface at 30 days using 46-0-0 with the amount of 40.44 kilogram/Rai, and applied at 45 day using 46-0-0 formula mixed with 21-4-21 formula for the amount of 49.81 kilogram/Rai. The average productivity was 1,567.74 kilogram/Rai. They sold the maize at 6.81 Baht per kilogram. The income was 10,256.89 Baht/Rai and the cost was 3,755.70 Baht/Rai. 3) The important reasons at the high level towards production were the convenience in the buying and the support for factors of production. 4) The problems at the highest level were on chemical fertilizer, chemical substances, and expensive seeds. They proposed to have group formation and to transfer the increase of productivity, and to find factors of production. 5) Knowledge that farmers wanted at the high level included maintenance, cultivation preparation, and distribution through leaflet ,poster, and personal media. 6) Extension guidelines were such as extensionist who was a personal media in the government agencies and private sector would held the role of information sender for governmental projects, the support for production factors, the accessibility to funds, knowledge in maize production through personal media, printing media, and electronic media to farmersen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons