กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/538
ชื่อเรื่อง: การปลูกฝังความคิดทางการเมืองของผู้ก่อความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดนราธิวาส
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Political indoctrination among delinquents in three southern border province : a case study of Natathiwat Province
Political indoctrination among delinquents in three southern border province : a case study of Narathiwat Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: วิวัฒน์ เอี่ยมไพรวัน, อาจารย์ที่ปรึกษา
เสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษา
อาทิตย์ เทียนศิริ, 2510
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์
อุดมการณ์ทางการเมือง
ผู้ก่อการร้าย--ไทย--นราธิวาส
การก่อการร้าย--ไทย (ภาคใต้)
ไทย (ภาคใต้)--ปัญหาและข้อพิพาท
วันที่เผยแพร่: 2551
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปลูกฟังความคิด ทางการเมืองของผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดนราธิวาส คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางสังคม และ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ (2) ขั้นตอนและสาระสำคัญในการปลูกฝังความคิดทางการเมืองของผู้ก่อความ ไม่สงบในจังหวัดนราธิวาส ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยการปลูกฝังความคิดทางการเมืองของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ ในจังหวัดนราธิวาส มีปัจจัยสำคัญประกอบด้วยปัจจัยส่วนบุคคลคือภูมิลำเนาหรือสถานที่เกิดปัจจัยทางสังคมคือศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และปัจจัยทางเศรษฐกิจคือความยากจนเป็นตัวนำในการชักชวนเข้าร่วมขบวนการ(2) ในการปลูกฝังความคิดทางการเมืองของผู้ก่อความไม่สงบมีหลักการสำคัญ 3 ขั้นตอนคือ 1) การสรรหาผู้เข้าร่วมขบวนการ 2) การปลูกฝังความคิดและการฝึกอบรมและ 3) การปฏิบัติการ ส่วนสาระสำคัญในการปลูกฝังความคิด คือ เรืองความด้องการแบ่งแยกดินแดนปกครองตนเอง
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/538
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Pol-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
110122.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.6 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons