Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5420
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนูซีย๊ะ ลาดอ, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-04T15:59:05Z-
dc.date.available2023-04-04T15:59:05Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5420-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมของครูประถมศึกษาในโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูประถมศึกษาในโรงเรียนเอกชนสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสงขลาที่ปฏิบัติหน้าที่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 286 คน โดย วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับเรื่องพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมของครูประถมศึกษาในโรงเรียนเอกชนสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสงขลา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า โดยทั่วไปครูประถมศึกษามีระยะเวลารวมที่ใช้สื่อสังคมในแต่ละวัน เป็น เวลา 3-4 ชั่วโมง มีประสบการณ์การใช้สื่อสังคมมาแล้ว 5-7 ปี มีการเข้าใช้สื่อสังคมผ่านโทรศัพท์มือถือ ประเภทสมาร์ตโฟน โดยนิยมใช้สื่อสังคมในช่วงเย็นหลังเลิกงาน ณ ที่บ้านและที่พักอาศัย เมื่อพิจารณาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมของครูประถมศึกษาในโรงเรียนเอกชนสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสงขลา โดยภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก 6 ด้าน ได้แก่ (1) พฤติกรรมด้านวัตถุประสงค์ของการใช้สื่อสังคม ครูประถมศึกษาใช้งานสื่อสังคม เพื่อเป็นช่องทางติดตามข่าวสารหรือพูดคุยกับเพื่อนญาติคนรู้จัก (2) พฤติกรรมด้านเหตุผลที่ใช้งานสื่อสังคม ครูประถมศึกษาใช้งานสื่อสังคมเพราะ ง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ (3) พฤติกรรมด้านสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนในการใช้ สื่อสังคม ครูประถมศึกษาใช้งานสื่อสังคมเพราะสามารถใช้ร่วมกับเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ใช้ (4) พฤติกรรมด้านคุณค่าในการใช้สื่อสังคม ครูประถมศึกษาใช้งานสื่อสังคมเพราะเป็นสิ่งที่ทำให้สนุกและเพลิดเพลิน (5) พฤติกรรมด้านความสนใจในการใช้งานสื่อสังคม ครูประถมศึกษาสนใจที่จะใช้สื่อสังคมต่อไปในอนาคต และ (6) พฤติกรรมด้านความ พึงพอใจของการใช้สื่อสังคม ครูประถมศึกษาใช้งานสื่อสังคมแล้วรู้สึกมีความคล่องตัวและความ รวดเร็วในการติดต่อสื่อสารผ่านสื่อสังคม ส่วนพฤติกรรมด้านอิทธิพลทางสังคมในการใช้สื่อสังคม อยู่ในระดับปานกลาง โดยครูประถมศึกษาใช้งานสื่อสังคมเพราะเพื่อนผู้ร่วมงาน หัวหน้ามีส่วนกระตุ้นและคิดว่าควรใช้สื่อสังคมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์--การสื่อสารth_TH
dc.subjectพฤติกรรมมนุษย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมของครูประถมศึกษาในโรงเรียนเอกชนสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeThe social media usage behaviors of primary education teachers in private schools under the office of Private Education in Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study social media usage behaviors of primary education teachers in private schools under the Office of Private Education in Songkhla province. The research sample consisted of 286 primary education teachers in private schools under the Office of Private Education in Songkhla province during the first semester of the 2017 academic year, obtained by simple random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on social media usage behaviors of primary education teachers in private schools under the Office of Private Education in Songkhla province. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that in general, primary education teachers spent 3-4 hours each day for social media usage; they had been using social media for 5 - 7 years; they gained access to social media via smart mobile phone; they usually used social media in the evening after office hours in their houses or places of residence; the overall social media usage behavior of primary education teachers in private schools under the Office of Private Education in Songkhla province was rated at the high level; when specific aspects of their social media usage behaviors were considered, it was found that (1) regarding the aspect of objectives of using social media, the primary education teachers used social media as the channel for obtaining information or chatting with friends, relatives and acquaintances; (2) regarding the aspect of reasons for using social media, primary education teachers used social media because they made it easy for them to access various information; (3) regarding the environmental context supporting social media usage, primary education teachers used social media because they could use them together with other technologies; (4) regarding values of using social media, primary education teachers used social media because they provided them with joys and entertainment; (5) regarding their interest in using social media, primary education teachers were interested in continuing to use social media in the future; and (6) regarding their satisfaction with using social media, primary education teachers felt that social media enabled them to contact and communicate with other people easily and speedily; however, they rated the social influence of social media usage at the moderate level; they gave reason that they used social media because their friends, colleagues, and superiors encouraged them to use social media.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155973.pdf3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons