Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5425
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์ | th_TH |
dc.contributor.author | กนกทิพย์ พัฒนโสภณ, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-04-04T16:26:45Z | - |
dc.date.available | 2023-04-04T16:26:45Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5425 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนมีนประสาทวิทยา จังหวัดกรุงเทพมหานคร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา จำนวน 429 คน โรงเรียนมีนประสาทวิทยา จังหวัดกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่าพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทั้ง 4 ด้าน โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดแต่ละด้าน คือ (1) ด้านการศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูล คือ มีการค้นหาข้อมูลที่ให้บริการจากเว็บเซิร์ฟเวอร์ ได้แก่ รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว มาใช้ในการเรียนหรือทำรายงาน (2) ด้านการติดต่อสื่อสาร คือมีการเข้าร่วมพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเครือข่ายสังคมประเภทยูทูบ (3) ด้านความบันเทิง คือ มีการเลือกอ่านหนังสือหรือวารสารต่างๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา และ (4) ด้านปัญหาจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต คือ สัญญาณอินเทอร์เน็ตที่นักเรียนใช้ในโรงเรียนมีความไม่เสถียร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | อินเทอร์เน็ตในการศึกษา | th_TH |
dc.subject | อินเทอร์เน็ต--การศึกษาการใช้ | th_TH |
dc.subject | อินเทอร์เน็ต--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | กาการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนมีนประสาทวิทยา จังหวัดกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Internet usage for learning behaviors of secondary students of Meenaprasat Wittaya School in Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to investigate the Internet usage for learning behaviors of secondary students of Meenaprasat Wittaya School in Bangkok Metropolis. The research population comprised 429 secondary students of Meenaprasat Wittaya School in Bangkok Metropolis. The employed research instrument was a questionnaire on the Internet usage for learning behaviors of secondary students. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings indicated that the overall Internet usage for learning behavior of secondary students was at the moderate level. When specific aspects of the Internet usage behaviors were considered, it was found that all four aspects of usage were at the moderate level, with the items receiving the highest rating means for the specific aspects being as follows: (1) in the aspect of using the Internet for study and information retrieval, the item on retrieving information from web server service in the forms of pictures, sound, and animated pictures for uses in learning or report writing; (2) in the aspect of using the Internet for communications, that on the use for meeting and opinion sharing in the social media network such as YouTube; (3) in the aspect of using the Internet for recreation, that on the use for selection of books and journals via the Internet for study; and (4) in the aspect of problems of using the Internet, that on the instability of Internet signal that the students use in school. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
159952.pdf | 8.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License