Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/542
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ สัตย์ธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอาภาพรรณี เขมวุฒิพงษ์, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T11:06:28Z-
dc.date.available2022-08-11T11:06:28Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/542-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ทั่วไปเพื่อศึกษาตัวแปรที่สามารถทำนายการใช้ฟันปลอมของผู้สูงอายุในจังหวัดตรัง โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือ (1) จำแนกตัวแปรที่สัมพันธ์กับการใช้ฟันปลอมของผู้สูงอายุในจังหวัดตรัง และ (2) สร้างสมการถดถอยพหุคูณทำนายการใช้ฟันปลอมของผู้สูงอายุในจังหวัดตรัง การวิจัยเชิงสำรวจนี่ศึกษาโดยการสุ่มผู้สูงอายุในจังหวัดตรังอย่างเป็นระบบจำนวน 417 คน และสัมภาษณ์พร้อมตรวจสภาวะช่องปากตามเครื่องมือที่สร้างขึ้นจากการดัดแปลงพรีชีดโมเดล มีตัวแปรศึกษา 3 กลุ่มตัวแปร คือ กลุ่มตัวแปรนำ 13 ตัวแปรย่อย กลุ่มตัวแปรเอื้อ 17 ตัวแปรย่อย และกลุ่มตัวแปรสนับสนุน 14 ตัวแปรย่อย ซึ่งเครึองมือนี่ผ่านการทดสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญและทดสอบความเชื่อมั่นได้ค่าสัมประสิทธิแอลฟารวมเท่ากับ 0.7023 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเที่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความสัมพันธ์ใช้ สถิติสหสัมพันธ์เพียรสันและไค-สแควร์ และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ในกลุ่มผู้สูงอายุที่ใช้ฟันปลอมจำนวนร้อยละ 24.2 ของผู้สูงอายุทั้งหมด มีตัวแปรย่อย 14 ตัวที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ฟันปลอมโดยเป็นตัวแปรนำ 6 ตัว ตัวแปรเอื้อ 4 ตัวและตัวแปรสนับสนุน 6 ตัว และ (2) มีตัวแปรย่อยเพียง 2 ตัว ที่สามารถทำนายการใช้ฟันปลอมได้ คือผู้สูงอายุรู้สึกว่ารับประทานอาหารทุกอย่างที่อยากรับประทานเวลาใส่ฟันปลอมและการทำความสะอาดฟันธรรมชาติที่เหลึอและช่องปากภายหลังรับประทานอาหารทุกมื้อ โดยการเข้าสมการถดถอยพหุคูณที่สรัางได้จากตัวแปรย่อยทั้ง 2 ตัว พบว่า ผ้สูงอายุรึสึกว่ารับประทานอาหารทุกอย่างที่อยากรับประทานเวลาใส่ฟันปลอมสามารถอธิบายการใช้ฟันปลอมได้ร้อยละ 15.6 และเพื่อเพิ่มตัวแปรย่อยการทำความสะอาดฟันธรรมชาติที่เหลือและช่องปากภายหลังรับประทานอาหารทุกมื้อในสมการ สามารถอธิบายการใช้ฟันปลอมได้ร้อยละ 19.2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการศึกษาตัวแปรที่ใช้ในการทำนายการใช้ฟันปลอมของผู้สูงอายุในจังหวัดตรังth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe general objective of this thesis was to study variables that predict the use of denture among the elderly in Trang Province; and the specific objectives were (1) to discriminate variables that correlate with the use of denture among the elderly in Trang Province; and (2) to construct regression equation for predicting the use of denture by the elderly in Trang Province. This survey research used systematic random sampling technique to draw the sample of the elderly in Trang Province resulting 417 people. The interview, together with oral examination was conducted using questionnaire constructed based on the PRECEDE Model. The 3 main studied groups of variables included 13 predisposing variables, 17 enabling variables, and 14 reinforcing variables. The questionnaire was reviewed by experts for its content validity and pre-tested for reliability with Conbrach’s Alpha Coeficient of 0.7023. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation. Test of correlation was shown by the Pearson multiple correlation coefficient, results of chi-square test, and multiple regression analysis. The results showed that; (1) In the group of the elderly who used denture with 24.2% of all elderly population. 14 variables correlated with the use of denture. The variables included 6 predisposing variables, 4 enabling variables, and 6 reinforcing variables; (2) Two variables found to predict the use of denture were “ the elderly felt that they could eat everything when using denture” and “cleaning the remained natural teeth and oral cavity after eating”. When entering the 2 variables into multiple regression equation, “ the elderly felt that they could eat everything when using denture” could explain the use of denture by 15.6% and by adding “cleaning the remained natural teeth and oral cavity after eating”, the 2 variables could explain the use of denture by 19.2 % with statistical significance at the 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
79866.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons