Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกฤษฎา ประศาสน์วุฒิ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งอรุณ คมหมู่-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-05T06:29:21Z-
dc.date.available2023-04-05T06:29:21Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5472-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัญหาเกี่ยวกับการจัดการขยะมูล ฝอยในชุมชนบนเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง (2) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการขยะมูลฝอยระหว่างภาครัฐและชุมชนบนเกาะเสม็ดจังหวัดระยอง และ (3) ศึกษา แนวทางในการสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยบนเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐและผู้ อยู่อาศัยบนเกาะเสม็ด กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ 14 คน และผู้อยู่ อาศัยบนเกาะเสม็ด 370 คน รวม 384 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม และการประชุมเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดจากขยะมูลฝอยบนเกาะเสม็ด ได้แก่ ปัญหาด้านกลิ่น (2) เจ้าหน้าที่ของรัฐและชาวชุมชนต่างเห็นด้วยในระดับค่อนข้างมากกับการ สรัางการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยบนเกาะเสม็ด (3) แนวทางในการสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและชุมชน ได้แก่ การจัดตั้งคณะกรรมการขยะ มูลฝอยในลักษณะไตรภาคี ประกอบด้วยผู้แทนจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติ และชุมชนบนเกาะเสม็ด การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการขยะมูลฝอย และการจัด กิจกรรมเกี่ยวกับการกำจัดขยะมูลฝอยร่วมกันทุกเดึอน เพื่อเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วม ในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ในลักษณะการประสานการใช้อำนาจหน้าที่ทุกระดับ โดยมุ่งเน้นให้ เกิดความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ นอกจากนั้น ควรมีการปรับปรุงกลไกการบังคับใช้ กฎระเบียบต่าง ๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับความด้องการของทุกฝ่าย เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายที่กำหนดร่วมกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจัดการของเสีย--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการกำจัดขยะ--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและชุมชน : กรณีศึกษาเกาะเสม็ด จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeGarbage management via participation between the public sector and the communities : a case study of Samed Island, Rayong Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study the problems regarding garbage management within the communities on Samed Island, Rayong Province (2) study the opinions towards participation between the public sector and the communities in garbage management on Samed Island, Rayong Province, (3) study the approach to enhance participation of the public sector and the communities in garbage management on Samed Island, Rayong Province. This study was a survey research. Populations were local authorities and residents on Samed Island. The sample size of 384 included 14 local authorities and 370 residents. Instruments used in this research were questionnaires and Participative Action Research Workshops. Statistical tools applied were percentage, mean, and standard deviation. Research results revealed that (1) major problem caused by garbage within communities on Koh Samed was garbage odor, (2) both local authorities and the residents agreed on moderate high level to encourage the participation of local authorities and the communities in order to manage the garbage on Samed Island (3) the approaches to enhance participation between the public sector and the communities were to set up a Triad Garbage Committee which included representatives from Local Government Organization, National Park, and the communities; to set up appropriate garbage management strategies; as well as to launch activities to clean up garbage in the area together every month; through these approaches all parties would have opportunity to participate in solving garbage problem in the area, the approaches would also reflect all level of authority cooperation in transparent and examinable manner; moreover, there should be an improvement on regulation enforcement mechanisms of all organization involved so consequently they would respond to all parties' needs which would lead to the achievement of mutual determined goalen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107691.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons