Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5479
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัมพล เชื้อหมอเฒ่า-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-05T06:52:37Z-
dc.date.available2023-04-05T06:52:37Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5479-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการบำรุงรักษา ทางหลวงชนบทของสำนักงานทางหลวงชนบทจังหวัดสตูลโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับ การมีส่วนร่วมของประชาชน (2) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน และ (3) ศึกษาถึงปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข และข้อเสนอแนะ ต่อการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการบำรุงรักษาทางหลวงชนบท การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยตัวแปรต้นที่ใช้ในการศึกษา เป็นประชาชนใน จังหวัดสตูล จำนวน 377 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบนสอบถาม แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิจัย โดยใช้การแจกแจงความถี่ร้อยละ ใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบแบบค่าที และการทดสอบแบบค่าเอฟ โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า (1) ประชาชนมีส่วนต่อการบำรุงรักษาทางหลวงชนบทของสำนักงาน ทางหลวงชนบทจังหวัดสตูล โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วม ได้แก่ เพศ อาชีพหลัก การรับรู้ข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ ความรู้ความเข้าใจและการติดต่อ สัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่ ส่วนปัจจัยที่ไม่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วม ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ จากการประกอบอาชีพและระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในพึ้นที่ (3) ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ เห็นว่า หน่วยงานของรัฐควรที่จะเปิดโอกาสหรือส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในด้านต่างๆ ตั้งแต่ ขั้นตอนของการร่วมคิด ตัดสินใจ และวางแผนในกิจกรรมที่จะดำเนินการเพื่อเป็นการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชนเจ้าของพื้นที่ ตลอดจนขั้นตอนในการร่วมปฏิบัติการร่วมรับประโยชน์หรือ ร่วมประเมินผลในการดำเนินงาน ควรเน้นถึงการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร การชี้แจงรายละเอียด โครงการ การส่งเสริมความรู้ สร้างความเข้าใจ หรือการฝึกอบรม เพื่อให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมด้วยความเต็มใจth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.204-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทางหลวงชนบท--การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการบำรุงรักษาทางหลวงชนบท ของสำนักงานทางหลวงชนบทจังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativePeople's participation in the rural roads maintenance of the Satun Province Roads Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.204-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research is a Study on people’s participation in the rural roads of the Satun Province Rural Roads Office. This research aims at Studying (1) the level of people’s participation, (2) factors which have an influence on people’s participation, and (3) problems obstacles in , as well as solutions and suggestions to the people's participation in the rural roads maintenance. Data of this survey research were gathered from 377 people living in Satun. The tool for this research was questionnaires. Percentage, means, standard variation, t-test and F-test are used by computer program The findings show that : (1) the means of people’s participation in the rural roads maintenance of the Satun Province Rural Roads Office was in the low level, (2) the factors which influenced the people’s participation were gender, occupation, information perception and publication, understandings and interaction with the officers. The factors which did not influence people’s participation were age level of education, income and length of time in the area and (3) the suggestion from this research was that public organizations should encourage people to participate in every step of operation such as sharing ideas, making decision, planning, operations, sharing benefits and evaluation of a project or activity. The publication , project’ s detail, and trainings should be more advertised in order to motivate people to participateen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107696.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons