Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5491
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริลักษณ์ นามวงษ์ | en_US |
dc.contributor.author | สำราญ นาเสาร์, 2524- | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-04-05T07:31:51Z | - |
dc.date.available | 2023-04-05T07:31:51Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5491 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนั้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัย ส่วนบุคคลของพนักงานบริษัท ซินโนวา จำกัด 2) ความคิดเห็นของพนักงานที่มีต่อการจัดตั้งสหกรณ์ออมทรัพย์ และ 3) เสนอแนะแนวทางในการจัด ตั้งสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานบริษัท ซินโนวา จำกัด ประชากรในการศึกษา คือ พนักงานบริษัท ซินโนวา จำกัด จำนวน 160 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 115 คน โดยใช้สูตรของ Taro Yamane ทั่ค่าความคลาดเคื่อน 0.05 และใช้วิธีการสุ่มตัว อย่างแบบง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) พนักงานส่วนใหญ่ร้อยละ 68.70 เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-29 ปี สถานภาพโสด สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ปฏิบัติงานในตำแหน่งระดับปฏิบัติการร้อยละ 77.40 มีอายุงานต่ำกวา่ 1 ปี ร้อยละ 35.70 มีรายได้ 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 53.00 และมีรายจ่าย 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 44.30 2) การจัดตั้งสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานเห็นด้วยในระดับมาก เพราะทำให้มีหลักประกันในอนาคตเมื่อว่างงานหรือเกษียณอายุงาน โดยเห็นว่า สหกรณ์ออมทรัพย์มีส่วนช่วยด้านการออมเงิน ด้านแหล่งเงินทุน ด้านสว้สดิการ และด้านอื่นๆ ในระดับมาก รวมทั้งพนักงานต้องการให้บริษัทจัดอบรมแก่พนักงานให้ทราบถึงการดำเนินงานและประโยชน์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ และ 3) ในการจัดตั้ง สหกรณ์ออมทรัพย์ พนักงานเห็นว่า คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ควรมาจากตัวแทนพนักงานทุกระดับ สมาชิกถือหุ้นแรกเข้า จำนวน 10 หุ้น มีมูลค่าหุ้นละ 20 บาท หักค่าหุ้นร้อยละ 1 ของเงินเดือน สหกรณ์ควรรับฝากเงินประเภทออมทรัพย์ 33 และให้ 33 เงินกู้เพื่อเหตุฉุกเฉิน สําหรับการจัดสว้สดิการ สหกรณ์ควรจัดให้มีสวัสดิการ ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาลแก่สมาชิก การทำประกันชีวิต เงินสงเคราะห์สมาชิกกรณีเสียชีวิตหรือประสบอุบัติเหตุ ทุนการศึกษาแก่บุตรของสมาชิก และจัดให้มีห้องออกกำลงักาย ในระยะเริ่มแรกของการจัดตั้งสหกรณ์ออมทรัพย์ มีข้อเสนอแนะให้จัดหาแหล่งเงินทุนเพื่มเติมจากเงินสมทบของบริษัท | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สหกรณ์ออมทรัพย์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สหกรณ์ | th_TH |
dc.title | แนวทางการจัดตั้งสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานบริษัท ซินโนวา จำกัด กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for establishment of Synova Employee Saving Cooperative Limited, Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to 1) study personal factors of Synova’s employees, 2) study opinions of the employees toward the establishment of the saving cooperative, and 3) provide a suggestion for the establishment of Synova Employee Saving Cooperative Limited. The population of this study was 160 employees of Synova Company Limited. The sample size of 115 people was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05, and by using simple random sampling method. Data was collected by using questionnaires and was analyzed by using descriptive statistics, which were frequency, percentage, average, and standard deviation. The results showed that 1) most of the employees were 68.70% female with the age range between 20-29 years old, and were single. They had completed their education at secondary educational level, and were holding positions as the operational level employees (77.40%). There were 35.70% of the employees who had less than one year of working experiences. Most employees (53.00%) had income between 10,001-20,000 Baht. There were 44.30%, who had expenses of 10,001- 20,000 Baht. 2) The employees agreed on a high level towards the establishment of employee saving cooperative because it acted as a future guarantee for unemployment or retirement. They thought that employee saving cooperative could help with the saving, funding resource, welfare, and other aspects at a high level. The employees also wanted the company to organize the training for them as to make them understand about the operation and the benefits of employee saving cooperative. 3) In establishing the employee saving cooperative, the employees thought that the operating committees should be selected from the employee representatives in every level. Members should hold 10 initial shares with the value of 20 Baht. Salary would be deducted for at least 1 % for the share cost. The cooperatives should provide savings deposits and provide emergency loans. For the benefits arrangement, there should be self-medical coverage, life insurance, member allowance in case of death or accident, scholarship for member’s children, and a gym provided for members. In the first phase of establishing the employee saving cooperative, the suggestion was to provide additional funding from the company’s contribution. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_158704.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License