Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภวัต เจียมจิณณวัตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษณา เข็มทอง, 2523--
dc.date.accessioned2023-04-05T07:49:23Z-
dc.date.available2023-04-05T07:49:23Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5496-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนั้ มีวีตถุประสงคเ พื่อ (1) ศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคต่อส่วนประสมการตลาดไข่ไก่ในอำเภอศรีราชา (2) ศึกษาความต้องการบริโภคไข่ไก่อินทรีย์ของผู้บริโภคในอำเภอศรีราชา (3) เปรียบเทียบทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดไข่ไก่จำแนกตามความต้องการบริโภคไข่ไก่อินทรีย์ของผู้บริโภคในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้บริโภคไข่ไก่ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา ใช้ขนาดตัวอย่างตามสูตรของทาโร่ ยามาเน่ จำ นวน 400 ราย โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่เก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) ทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดไข่ไก่มีทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด ผู้บริโภคได้ให้ความสำคัญ กับผลิตภัณฑ์ ราคา และการจัดจำหน่ายโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนการส่งเสริมการตลาดโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ความต้องการบริโภคไข่ไก่อินทรีย์เรียงตามลำดับ ขั้นทฤษฎีความต้องการของมนุษย์กำหนดโดยมาสโลส์ ผู้บริโภคได้ให้ความสำคัญ ตามลำดับ ขั้นความต้องการในระดับมาก และมีความต้องการซื้อ คือ ซื้อแน่นอนร้อยละ 63 ไม่แน่ใจหรือไม่ซื้อร้อยละ 37 และ (3) เปรียบเทียบความต้องการซื้อไข่ไก่อินทรีย์์ ระหว่างซื้อแน่นอน และไม่แน่ใจ หรือไม่ซื้อต่อทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดไข่ไก่ท้งั 4 ดัาน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดัจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด พบว่า ทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดไข่ไก่ในแต่ละด้านมีผลต่อความต้องการซื้อไข่ไก่อินทรีย์ที่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectไข่ไก่--การตลาดth_TH
dc.subjectบริโภคกรรม (เศรษฐศาสตร์)--ไทยth_TH
dc.subjectผู้บริโภค--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการการเกษตรth_TH
dc.titleทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดกับความต้องการบริโภคไข่ไก่อินทรีย์ของผู้บริโภคในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeAttitude on the marketing mix and the demand for organic eggs of consumers in Si Racha District, Chon Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study consumer attitudes toward marketing mix factors of eggs in Si Racha District; (2) to study consumer demand for organic eggs in Si Racha District; (3) to compare attitudes on marketing mix of eggs classified by consumer demand for organic eggs in Si Racha District, Chon Buri Province. The study population was consumers of eggs in Chao Phraya Surasak Municipality, Si Racha District. The sample size used was 400 samples, determined by Taro Yamane formation and obtained by convenience sampling. The research instrument used was a questionnaire. The statistical analysis methods were frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test. The findings were as follows: (1) attitude on marketing mix of eggs covered four aspects: product, price, place and promotion. The respondents valued product, price and place at a high level, and promotion was at a moderate level. (2) The demand for organic eggs was ranked according to the hierarchy of human needs theory set by Maslow. The respondents paid attention to all steps of human needs at a high level. As for consumption demand, 63% of the samples said they would definitely buy organic eggs and 37% said they were not sure or would not buy. (3) Comparing samples’ responses with their consumption demand between definitely buy and not sure or not buy on the egg marketing mix in four aspects: product, price, place and promotion; this study found that each aspect of the egg marketing mix between the consumption demand was statistically significant at level 0.05-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_158708.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons