กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5496
ชื่อเรื่อง: | ทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดกับความต้องการบริโภคไข่ไก่อินทรีย์ของผู้บริโภคในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Attitude on the marketing mix and the demand for organic eggs of consumers in Si Racha District, Chon Buri Province |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ภวัต เจียมจิณณวัตร กฤษณา เข็มทอง, 2523- |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร--การศึกษาเฉพาะกรณี ไข่ไก่--การตลาด บริโภคกรรม (เศรษฐศาสตร์)--ไทย ผู้บริโภค--ทัศนคติ การศึกษาอิสระ--การจัดการการเกษตร |
วันที่เผยแพร่: | 2560 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนั้ มีวีตถุประสงคเ พื่อ (1) ศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคต่อส่วนประสมการตลาดไข่ไก่ในอำเภอศรีราชา (2) ศึกษาความต้องการบริโภคไข่ไก่อินทรีย์ของผู้บริโภคในอำเภอศรีราชา (3) เปรียบเทียบทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดไข่ไก่จำแนกตามความต้องการบริโภคไข่ไก่อินทรีย์ของผู้บริโภคในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีประชากรที่ศึกษาคือ ผู้บริโภคไข่ไก่ที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา ใช้ขนาดตัวอย่างตามสูตรของทาโร่ ยามาเน่ จำ นวน 400 ราย โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่เก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการศึกษาพบว่า (1) ทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดไข่ไก่มีทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด ผู้บริโภคได้ให้ความสำคัญ กับผลิตภัณฑ์ ราคา และการจัดจำหน่ายโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนการส่งเสริมการตลาดโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) ความต้องการบริโภคไข่ไก่อินทรีย์เรียงตามลำดับ ขั้นทฤษฎีความต้องการของมนุษย์กำหนดโดยมาสโลส์ ผู้บริโภคได้ให้ความสำคัญ ตามลำดับ ขั้นความต้องการในระดับมาก และมีความต้องการซื้อ คือ ซื้อแน่นอนร้อยละ 63 ไม่แน่ใจหรือไม่ซื้อร้อยละ 37 และ (3) เปรียบเทียบความต้องการซื้อไข่ไก่อินทรีย์์ ระหว่างซื้อแน่นอน และไม่แน่ใจ หรือไม่ซื้อต่อทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดไข่ไก่ท้งั 4 ดัาน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดัจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด พบว่า ทัศนคติด้านส่วนประสมการตลาดไข่ไก่ในแต่ละด้านมีผลต่อความต้องการซื้อไข่ไก่อินทรีย์ที่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที 0.05 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5496 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Agri-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_158708.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.26 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License