Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5501
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลย์ชัยth_TH
dc.contributor.authorอดิทัต ประเสริฐสุขth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-05T07:59:00Z-
dc.date.available2023-04-05T07:59:00Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5501en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสถานพยาบาลหลัก : กรณศึกษาผู้ประกันตนในจังหวัดนนทบุรี” มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสถานพยาบาล หลักของผู้ประกันตนในจังหวัดนนทบุรี (2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการสถานพยาบาลหลักของผู้ประกันตนในจังหวัดนนทบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรในการศึกษา คีอ ผู้ประกันตนในจังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 400 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามอัตราส่วนของผู้ประกันตนใน 6 อำเภอ ของจังหวัดนนทบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีความเชื่อถือได้เท่ากับ 0.959 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และ การทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายและหญิงจำนวนเท่ากัน กลุ่มตัวอย่างที่มากที่สุดมีอายุตั้งแต่ 2030 ปี (ร้อยละ 365) ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย'1เทียบเท่าร้อยละ 45.2) สถานภาพสมรส(ร้อยละ 515) อาชีพ (ลักษณะงาน) ทำงานเป็นพนักงานทั่วไป (ร้อยละ 74.0) ระดับรายได้ 10,001-15,000 บาท (ร้อยละ 45.2)โดยทั่วไปผู้ประกันตนให้ความสำคัญต่อปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสถานพยาบาลหลัก ด้วยปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในระดับปานกลาง (x 3.37) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ผู้ประกันตนให้ความสำคัญต่อปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพ ปัจจัยด้านผลิตกัณฑ์และ ปัจจัยด้านบุคลากรอยู่ในระคับมาก (x = 3.83 3.82 และ 3.71 ตามลำดับ) ส่วนปัจจัยที่ผู้ประกันตนให้ความสำคัญนัอยที่สุดได้แก่ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาดมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (x =2.34) นอกจากนี้พบว่า ผู้ประกันตนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพ และระดับรายได้ที่แตกต่างกัน จะมีค่าเฉลี่ยของปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจ เลือกสถานพยาบาลหลักแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) ผู้ประกันตนเลือกใช้บริการสถานพยาบาลของภาครัฐ และภาคเอกชนจำนวนเท่ากัน ส่วนใหญ่ไม่เปลี่ยนสถานพยาบาลหลักจากเดิม(ร้อยละ 99.2) ตัดสินใจเลือกสถานพยาบาลหลักด้วยตนเอง (ร้อยละ 70.8) เมื่อเจ็บป่วยการปฏิบัติตัวอันดับแรกคือ ใช้บริการโรงพยาบาลที่เลือกเป็นสถานพยาบาลหลัก(ร้อยละ 42.5) ในช่วงเวลา 1 มกราคม-31 ธันวาคม 2550 ผู้ประกันตนส่วนใหญ่เคยใช้บริการสถานพยาบาลหลักโดยใช้บริการจำนวน 1-5 ครั้ง (ร้อยละ 62.0) เวลาเดินทางจากบ้าน/ที่ทำงานไปยังสถานพยาบาลหลักใช้ระยะเวลา 30 นาที -1 ชั่วโมง (ร้อยละ 73.0) ไปใช้บริการในช่วงเวลา 8.01 น. - 16.00 น.(ร้อยละ 66.0) โดยไปใช้บริการคนเดียว (ร้อยละ 44.0)และใช้เวลาอยู่ในสถานพยาบาลหลักในการใช้บริการแต่ละครั้ง 30 นาที - 1 ชั่วโมง (ร้อยละ 51.2)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.272en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประกันสังคม--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.subjectสถานพยาบาลth_TH
dc.titleพฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสถานพยาบาลหลัก : กรณีศึกษาผู้ประกันตนในจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeBehavior and factors affecting the choice decision of main contracted hospital : a case study of insured persons in Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.272-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.272en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the study “Behavior and Factors Affecting The Choice Decision of Main Contracted Hospital : A Case Study of Insured Persons in Nonthaburi Province” were (1) to study factors affecting the choice decision of main contracted hospital of insured persons in Nonthaburi Province, and (2) to study behavior towards the use of main contracted hospital of insured persons in Nonthaburi Province. This research was survey research. The population was insured persons in Nonthaburi Province. The number of samples in this research was 400 persons who were randomized selected in 6 districts of Nonthaburi Province. The research tool was a questionnaire with the level of reliability at 0.959. The statistical methods employed comprised of frequency, percentage, means, standard deviation, t-test and F-test The research results indicated that studied samples were male and female equally. The most of the population aged between 20-30 years old (36.5%), held high school education or equivalent (45.2%), married (51.5%), worked as general employees (74.0%) and had monthly income in range of 10,001 to 15,000 baht (45.2%). Generally, the insured persons played attention to factors affecting their decision making of main contracted hospitals moderately with marketing mix factors at the moderate level (x=3.37). Considering in each aspect, the insured persons played attention to physical characteristic, product factor and personal factor at the high level (x- 3.83, 3.82 and 3.71, respectively). Marketing promotion factor was the lowest factor (x = 2.34). From the result, it was found that insured persons with different personal factors (sex, age, educational level, marital status, occupation, and income) had average marketing mix factors affecting decision making of their main contracted hospitals differently with the statistically significant (p < .05). Insured persons selected the government hospital and private hospital equally as their main contracted hospital. Most of them did not change their hospitals (99.2%) and decided to select their hospitals themselves (70.8%). When they felt sick the first act was to use the selected hospital as the main contracted hospital (42.5%). The frequency of using hospital service during 1st January to 31st December 2007 was 1-5 times (62.0%). A journey from home or workplace to hospital took between 30 minutes to 1 hour (73.0%). They used hospital service during 8.01am to 4.00pm (66.0%) and they went to hospital alone (44.0%). The time they spent in hospital in each visit was from 30 minutes to 1 hour (51.2%).en_US
dc.contributor.coadvisorธนชัย ยมจินดาth_TH
dc.contributor.coadvisorประเสริฐ สุทธิประสิทธิ์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107698.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons