Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5505
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรุณี หรดาล, อาจารย์ที่ปรึกษาen_US
dc.contributor.authorมาลี หงษ์ทอง, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-05T08:31:38Z-
dc.date.available2023-04-05T08:31:38Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5505-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็ก ปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมเกมการศึกษาแบบร่วมมือ กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กปฐมวัย อายุ 5 - 6 ปี ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่มที่กำลังศึกษาอยู่ใน ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนปราสาทศึกษาคาร จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย เกมการศึกษาด้านมิติสัมพันธ์ คู่มือการจัดกิจกรรม เกมการศึกษาแบบร่วมมือ และแบบทดสอบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ แบบคู่ขนาน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมเกมการศึกษาแบบร่วมมือ มี ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.source.uriReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความสามารถด้านมิติสัมพันธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาปฐมวัย--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมเกมการศึกษาแบบร่วมมือที่มีต่อความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย โรงเรียนปราสาทศึกษาคาร จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeThe effects of cooperative educational game activities on spatial relation abilities of preschool children at Prasartsuksakarn School in Surin Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_123222.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons