Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแก้ววิหาร เขาแก้ว, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-07T03:14:45Z-
dc.date.available2023-04-07T03:14:45Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5532-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบการฝึกอบรมเรื่อง การพัฒนาชิ้นส่วนยานยนต์และกระบวนการงานใหม่ในกลุ่มบริษัท มารูอิ ซัม (ไทยแลนด์) จำกัด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ บุคลากรในกลุ่มบริษัท มารูอิ ซัม (ไทยแลนด์) จำกัด ที่เป็นผู้รับการฝึกอบรม จำนวน 265 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบ ถามความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบการฝึกอบรมสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า ผู้รับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อระบบการฝึกอบรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากสำหรับทุกขั้นตอนของระบบการฝึกอบรม โดยมีขั้นตอนย่อยของระบบการฝึกอบรมในแต่ละขั้นตอนหลักที่ได้รับค่าเฉลี่ย การประเมินสูงสุดดังนี้ (1) การกำหนดวัตถุประสงค์การฝึกอบรมเพื่อให้เกิดทักษะในการพัฒนางาน (2) การกำหนดหลักสูตรการฝึกอบรมควรมีเรื่องกระบวนการผลิตชิ้นงาน (3) การกำหนดคุณสมบัติของบุคลากรที่รับการฝึกอบรมเน้นทักษะและสมรรถนะที่ใช้ในการปฏิบัติงานได้ และเป็นผู้ที่ต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ (4) การกำหนดสภาพแวดล้อมด้านกายภาพ ของการฝึกอบรมควรกำหนดให้มีเครื่องมือ และอุปกรณ์ในการฝึกอบรมให้พร้อมใช้งาน ส่วนการกำหนดสภาพแวดล้อมด้าน จิตภาพ ควรมีวิทยากรที่เป็นกันเองกับผู้รับการฝึกอบรม และการกำหนดสภาพแวดล้อมด้านสังคม ควรมีการให้ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม (5) การกำหนดการดำเนินการอบรมนั้น สำหรับวิธีการฝึกอบรมควรเน้นการลงมือปฏิบัติ สำหรับรูปแบบการฝึกอบรมควรเน้นการฝึกอบรมโดยมีวิทยากรเป็นศูนย์กลางโดยมีสื่อการฝึกอบรมที่ขาดไม่ได้คือแบบฝึกปฏิบัติ สำหรับกิจกรรมการฝึกอบรมควรเน้นให้ผู้อบรมลงมือทำ และ (6) การกำหนดการประเมินผลการฝึกอบรมควรมีการสังเกตพฤติกรรม ส่วนผลลัพธ์ด้านความรู้ในการอบรม ควรให้ผู้รับการอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานของตนเองได้มากขึ้น ส่วนผลลัพธ์ด้านทักษะควรให้ผู้รับการอบรมสามารถปฏิบัติงานนั้นได้ถูกต้อง และผลลัพธ์ด้านทัศนคติ ควรให้ผู้รับการฝึกอบรมได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการปฏิบัติงานในทางที่ดีขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพนักงานบริษัท--การฝึกอบรมในงานth_TH
dc.subjectความพอใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบการฝึกอบรม เรื่อง การพัฒนาชิ้นส่วนยานยนต์และกระบวนการงานใหม่ในกลุ่มบริษัท มารูอิ ซัม (ไทยแลนด์) จำกัดth_TH
dc.title.alternativeThe satisfaction with the training system on development of automotive parts and the new work process of the personnel of Marui Sum (Thailand) Company Limited Groupen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the satisfaction with the training system on Development of Automotive Parts and the New Work Process of the personnel of Mami Sum (Thailand) Company Limited Group. The research sample consisted of 265 personnel, who received the training program, of Mami Sum (Thailand) Company Limited Group, obtained by simple random sampling. The research instrument was a questionnaire on the satisfaction of the personnel with the training system. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall satisfaction of the personnel with every step of the training system was at the high level, with the sub-step in each main step of the training system that received the top rating mean being the following: (1) the determination of the training objectives should be to enable the trainees to have work development skills; (2) the determination of the training program should include the topic on the workpiece production process; (3) the determination of characteristics of the prospective trainees should focus on the prospective trainees having competencies and skills in work performance and having the needs for self-development regularly; (4) the determination of physical context of the training should be that on having training devices and equipment that are ready to be used; while the determination of mental context of the training should be on having resource persons who are congenial with the trainees; and the determination of social context of the training should be on having the trainees interacting with each other; (5) the determination of the training operation which included the following: the training method should focus on hands-on practice; the training model should be the resource person-centered training model; the absolutely required training media were the training workbooks; the training activities should focus on the hands-on practice activities; and (6) the determination of evaluation of the training should include the behavior observation; as for the training outcome in terms of obtained knowledge, the trainees should be able to apply the obtained knowledge in improvement of their work performance; for training outcome in terms of obtained skills, the trainees should be able to work with proper skills; and for training outcome in terms of attitude, the trainees’ work performance behaviors should be modified to become better.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161404.pdf10.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons