Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินตนา ธนวิบูลย์ชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญธรรม คงมาก-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-07T03:17:17Z-
dc.date.available2023-04-07T03:17:17Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5533-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพึ่อ(1) ศึกษาระดับคุณภาพบริการตามความคิดเห็นของ ผู้ใช้บริการต่อโรงพยาบาลคุณภาพของเอกชนในจังหวัดภูเก็ต (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ส่วนบุคคลกับระดับคุณภาพบริการตามความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อโรงพยาบาลคุณภาพของ เอกชนในจังหวัดภูเก็ต (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะคุณภาพบริการต่อโรงพยาบาลคุณภาพของ เอกชนในจังหวัดภูเก็ต การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้เป็นคนไทยที่ใช้บริการจากแผนกผู้ป่วย นอกโรงพยาบาลคุณภาพของเอกชนในจังหวัดภูเก็ต สุ่มตัวอย่างโรงพยาบาลโดยการจับสลากได้ โรงพยาบาลสิริโรจน์และเลึอกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงให้กระจายตามปัจจัยส่วนบุคคล ขนาดตัวอย่าง 375 คน เครื่องมึอที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล ระดับคุณภาพบริการตามความคิดเห็น ของผู้ใช้บริการต่อโรงพยาบาลคุณภาพของเอกชน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ คำเฉลี่ย ส่วนเบียงเบน มาตรฐาน และทดสอบความสัมพันธ์ด้วยไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับคุณภาพบริการตามความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อโรงพยาบาล อยู่ในระดับมากทั้งในภาพรวมและในรายด้าน (2) ปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพ บริการดามความคิดเห็นของผู้ใช้บริการในภาพรวม แต่พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลเฉพาะที่มีความสัมพันธ์กับ คุณภาพบริการตามความคิดเห็นของผู้ใช้บริการได้แก่ เพศกับการให้ความมั่นใจในบริการ อายุกับความ เป็นรูปลักษณ์ของบริการและการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ ประสบการณ์การใช้บริการกับ ความเป็นรูปลักษณ์ของบริการ ส่วนระดับการศึกษาและอาชีพมีความสัมพันธ์กับคุณภาพบริการรายด้าน ทุกด้าน และ (3) ปัญหาคุณภาพบริการส่วนมากเป็นปัญหาด้านความเป็นรูปลักษณ์ของบริการกับความ น่าเชึ่อถือไวัวางใจได้และเสนอแนะให้ปรับปรุงด้านความเป็นรูปลักษณ์ของบริการกับความน่าเชื่อถือ ไวัวางใจได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.353-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเอกชน--ไทย--ภูเก็ตth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลth_TH
dc.titleคุณภาพบริการตามความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อโรงพยาบาลคุณภาพของเอกชน ในจังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeService quality toward quality private hospital based on customers, opinion in Phuket Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.353-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study the service quality in a quality private hospitals in Phuket Province based on customer opinion; (2) to study the relationship between personal characteristics and service quality based on customer opinion to private quality hospital in Phuket Province, and (3) to determine perceived problems and suggestion of service quality based on customers in quality private hospital in Phuket Province. This study design was a cross-sectional survey. The population consisted of Thai citizens who used health services from quality private hospitals in Phuket Province.One hospital was randomly selected from a list. 375 patients were selected by purposive sampling. A self-administered questionnaire was used to obtain information concerning personal characteristics and opinions about the service quality in the hospital. Data were analyzed as percentages, mean, standard deviations, and Chi's square tests. Results of the study showed that: (I) the overall and individual aspect of Service quality in the hospital was as the high; (2) there were no significant relationship between personal characteristics and overall service quality. However, gender was found to be related to service quality- based on the opinions of Creditability, and age was found to be related to tangible related to service image and responsiveness to need of the patients. Experience in use of service was related with tangible service image, while occupation and level of patients’ education were all components of quality of service; and (3) the two most common problems and suggestion needed for improvement perceived by patients concerning service quality were tangible service image and credibilityen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108595.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons