Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/557
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริศักดิ์ ศุภมนตรี | th_TH |
dc.contributor.author | พระมหารมย์ แตงทรัพย์, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T03:22:57Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T03:22:57Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/557 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ได้กล่าวถึงสถานะอันเป็นที่มาของสิทธิแห่งพระภิกษุในทางกฎหมายอาญา เนื่องจากว่าพระภิกษุนั้นก็เป็นพลเมืองผู้หนึ่งในประเทศแต่ว่าสิทธิของพระภิกษุในทางกฎหมายอาญานั้น ยังมีความไม่ชัดเจนพอในกระบวนการดำเนินการเกี่ยวกับพระภิกษุผู้กระทำความผิดทางกฎหมายอาญาทําให้เกิดปัญหาว่าพระภิกษุนั้นมีสิทธิอย่างไรในทางกฎหมายดังกล่าว ดังนั้นจึงได้ทําการวิจัยเรื่องสิทธิของ พระภิกษุทางกฎหมายอาญา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะวิเคราะห์ให้ทราบถึงสิทธิของพระภิกษุในทางกฎหมายอาญา และเพี่อเสนอแนะข้อควรปรับปรุงพระราชบญญัติคณะสงฆ์เพิ่มเติม เพื่อให้สิทธิของพระภิกษุในทางกฎหมายอาญามีความชดเจนยิ่งข้ึน และช่วยลดปัญหาที่อาจเกิดจากความไม่ชัดเจนของ สิทธิของพระภิกษุในทางกฎหมาย งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมาย โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาและวิเคราะห์ เกี่ยวกับการดำเนินการกับพระภิกษุที่กระทาผิดกฎหมายทางอาญาอันประกอบไปด้วยการจับกุม การสอบสวน การฟ้องร้อง การพิจารณาพิพากษาคดี การบงคับโทษ ตามพระราชบญญัติคณะสงฆ์ประมวลกฎหมาย อาญา หนังสือต่างๆ งานนิพนธ์ทั่วๆ ไป และเอกสารงานวิจัยต่างๆ และจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับสิทธิของพระภิกษุในทางกฎหมายอาญาว่ามีสิทธิอย่างไรในทางกฎหมายอาญา ผลจากการวิจัยเรื่องสิทธิของพระภิกษุทางกฎหมายอาญานี้ ไม่ปรากฏชัดเจนว่ามีสิทธิพิเศษ หรือมีการบัญญัติสิทธิต่างๆ ไว้เป็นระบบแต่อย่างใด เพียงปรากฏอยู่ในกระบวนการทางอาญาบางขั้นตอนเท่านั้น เช่นการจับกุมการสอบสวนการฟ้องร้องการพิจารณาพิพากษาคดีและการบังคับโทษที่ต้องดำเนินการด้วยความอ่อนโยนเท่านั้น ซึ่งต่างจากการรองรับสิทธิของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่ต้องผ่านการพิจารณาทางสงฆ์ก่อนที่จะมาสู่สิทธิทางอาญาจึงทำให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติในหลายๆ ขั้นตอน เมื่อได้ศึกษารายละเอียดแล้ว น่าจะมีการบัญญัติสิทธิทางอาญาของพระภิกษุให้เป็นที่ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการ จับสึก การเบิกความ การเป็นจำเลย จัดให้มีสถานที่พิเศษสําหรับพระภิกษุผู้อยู่ในระหว่างการดำเนินคดีอาญากระบวนการพิจารณาคดี และการจัดตั้งศาลสงฆ์ ซึ่งจะนำมาซึ่งความชัดเจนของสิทธิทางอาญา ของพระภิกษุในประเทศไทยอันจะเป็นการขจัดความไม่ชัดเจนและความยุ่งยากต่อทางปฏิบัติที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.93 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์. | th_TH |
dc.subject | ภิกษุ | th_TH |
dc.subject | กฎหมายอาญา | th_TH |
dc.title | สิทธิของพระภิกษุทางกฎหมายอาญา | th_TH |
dc.title.alternative | Monks' rights under criminal law | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.93 | en_US |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.93 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research examines the state in which the rights of monks originated under criminal law. Monks are citizens of a country. However, the rights of the monk under criminal law are unclear in terms of the procedure taken for monks who commit crime. This causes problem of how monks reserve the rights under such law. Therefore, this thesis will study and analyze rights of monks under criminal law and provide recommendations for improvement of the Clergy Act in order to clarify rights of the monk under criminal law and decrease under criminal law become clearer and problems arising from unclear lawful rights of monks. This study is a qualitative research in law. Criminal procedures taken for monks committing crime, including, arrest, inquiry, criminal prosecution, hearing, judgment and punishment, was studied and analyzed. The Clergy Act, Criminal Code, books, papers and researches were studied and interviews with experts on rights of monks under criminal law were conducted. Research findings revealed that rights of monks under criminal law were not clear and stipulated in a systematic manner. It was only stated that arrests, inquiries, prosecution, judgment process and punishment of monks should be done in a gentle way. This is different from criminal law of the People's Democratic Republic of Laos, where monks must go through monastic procedure before being prosecuted under criminal law. This addedmore layers to procedure. After a through study, it was determined that rights of monks under criminal law had to be clearly stated when it came to disrobement, testifying and being held as defendants. During criminal prosecution, a place should be allocated for monks. Finally, monastic court should be established to eliminate ambiguity and complexity of present practices. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วราภรณ์ วนาพิทักษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib133894.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License