Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5610
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิเชียร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปีฐพล รัตนจินดา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-25T08:47:32Z-
dc.date.available2023-04-25T08:47:32Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5610-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัดถุประสงค์ 6 ประการเพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มี อิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณ (2) ศึกษาปัจจัยอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้ยาแผน โบราณ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการใช้ยาแผน โบราณ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณ (5) ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยอื่นๆ กับพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณ และ (6) วิเคราะห์ปัญหาของ ผู้บริโภคที่มีต่อการใช้ยาแผนโบราณ การศึกษานี้เป็นการวิชัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้บริโภคที่ใช้ยาแผนโบราณในเขต กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคึอ ผู้บริโภคยาแผนโบราณในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามที่ได้ตรวจสอบความเที่ยงตรงโดยผู้เชี่ยวชาญและมีค่า ความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.923 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉถี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานและการทดสอบไคสแควร ทำการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้ยาแผน โบราณในระดับมากคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านการจัดจำหน่าย ส่วนด้านการส่งเสริมการตลาด อยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณ เรียงลำดับจากมากไป น้อยคือ ด้านวัฒนธรรม ด้านสังคม ด้านจิตวิทยา และด้านวัตถุประสงค์ของการใช้ (3) ปัจจัยส่วนประสม ทางการตลาดไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (5) ปัจจัยอื่นๆ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (6) ปัญหาของผู้บริโภคที่มีต่อการใช้ยาแผนโบราณคือ ไม่มั่นใจสถานที่ผลิตยาและกระบวนการผลิต ราคาขายแต่ละร้านไม่เท่ากันแม้ว่าจะเป็นยาชนิดเดียวกัน มีสินค้าให้เลือกซื้อน้อย และขาดเอกสารให้ ความรู้แก่ผู้บริโภคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.388-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectยาแผนโบราณth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeMarketing factors influencing consumers' usage behavior of traditional medicines in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.388-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of the research were : 1) to study marketing mix factors influencing the usage behavior of traditional medicines; 2) to study other factors influencing the usage behavior: 3) to study relationship between marketing mix factors and the usage behavior; 4) to study relationship between personal factors and usage behavior; 5) to study relationship between other factors and the usage behavior; and 6) to analyze the consumer’s problems on the usage behavior. This research was made by survey method. The studied population was consumers of traditional medicines in Bangkok Metropolis. The research sample consisted of 400 consumers. The research tool was a questionnaire tested of both validibility by experts and reliability value at 0.923.The statistics used in the research analysis included frequency, percentage. mean. standard deviation, and chi-square test. The data were then analyzed by Computer Software. The results showed that : (1) marketing mix factors affecting usage behavior of traditional medicines in high level were product, price , place and medium level was promotion; (2) other factors ranking three orders from high to low were cultural, social. psychological, and usage objective factors; (3) marketing mix factors didn’t show relationship to the usage behavior at 0.05 statistically significant level; (4) personal factors didn’t show relationship to the usage behavior at 0.05 statistically significant level; (5) other factors didn’t show relationship to the usage behavior at 0.05 statistically significant level; and (6) the problems of consumers on the usage of traditional medicines were the unreliability of production plants and production process, variation in price, the low traditional medicine items in drugstores, and the lack of information supporten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108602.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons