Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/561
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรางคณา จันทร์คง | th_TH |
dc.contributor.author | กนกวรรณ พัฒนกิจจารักษ์, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T03:50:25Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T03:50:25Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/561 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านการรับบริการของผู้มารับบริการทันตกรรม (2) ระดับความคิดเห็นของผู้มารับบริการทันตกรรมต่อปัจจัยส่วนผสมการตลาด และ (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนผสมการตลาด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านการรับบริการของผู้มารับบริการทันตกรรมในโรงพยาบาลพยุหะคีรี ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้มารับบริการทันตกรรม ในโรงพยาบาลพยุหะคีรี จำนวน 2,225 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ทำการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนผสมการตลาดของผู้มารับบริการทันตกรรม โดยใช้การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้มารับบริการทันตกรรม ส่วนมากเป็นเพศหญิง อายุ 21-40 ปี จบการศึกษาตํ่ากว่าปริญญาตรีประกอบอาชีพเกษตรกร/ลูกจ้าง มีรายได้ต่อเดือน ตํ่ากว่า 5,000 บาท สถานภาพสมรสคู่ ในการประเมินปัจจัยด้านการรับบริการพบว่า ส่วนใหญ่เคยมารับบริการ ภายใน 1 ปีที่ผ่านมา โดยมารับบริการอุดฟัน และสิทธิในการรักษาพยาบาลที่ใช้คือบัตรประกันสุขภาพ (2) ความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนผสมการตลาดโดยรวมอยู่ในระดับมาก และ (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนผสมการตลาด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านการรับบริการ พบว่า ผู้มารับบริการทันตกรรมในโรงพยาบาลพยุหะคีรีที่มีเพศ อายุ อาชีพ และประวัติในการรับบริการแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนผสมการตลาด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลพยุหะคีรี | th_TH |
dc.subject | ทัณฑกรรม | th_TH |
dc.subject | บริการทางการแพทย์ | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนผสมการตลาดของผู้มารับบริการทันตกรรมในโรงพยาบาลพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ | th_TH |
dc.title.alternative | Opinions on marketing mix of dental care recipients at Phayuhakhiri Hospital in Nakhon Sawan Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this survey research were to: (1) study personal and service utilization factors of dental care recipients; (2) study opinions on marketing mix factors; and (3) compare the opinions on marketing mix factors by personal factors and service utilization factors, all of dental care recipients at Phayuhakhiri Hospital, Nakhon Sawan province. The study was conducted among a sample of 400 out of 2,225 dental care recipients at Phayuhakiri Hospital, selected using the systematic random sampling method. The instrument for data collection was a questionnaire with the reliability of 0.96. Statistics used to data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and ANOVA. The results showed that: (1) most of dental care recipients were married, female, 21- 40 years of age; their education background was lower than bachelor’s degree; most of them were farmers and employees with a monthly income less than 5,000 baht and the eligibility to medical/dental care under the Universal Health Coverage scheme; during the past year, most of them had ever used dental services, mostly cavity filling; (2) their opinions on overall marketing mix factors were at a high level; and (3) the recipients with different ages, occupations and service histories had significantly different opinions on marketing mix factors (p = 0.05) | en_US |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
130712.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License