Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวนีย์ อัศวโรจน์th_TH
dc.contributor.authorภูวดล คงแสง, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T03:52:05Z-
dc.date.available2022-08-13T03:52:05Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/562en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และพัฒนาการเกี่ยวกับวุฒิสภา 2) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา เปรียบเทียบกับต่างประเทศ 3) วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่ง สมาชิกวุฒิสภาและปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ที่ทําให้เกิดปัญหา 4) เสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาไทยที่ควรจะเป็น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยทางเอกสาร โดยค้นคว้าและรวบรวมหนังสือ ตํารา เอกสาร รัฐธรรมนูญ บทความทางวิชาการที่เกี่ยวกับวุฒิสภาทั้งในส่วนวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาและอํานาจหน้าที่ของวุฒิสภาในประเทศไทย และต่างประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมนี ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น ผลการศึกษาพบว่า 1) รูปแบบรัฐสภาแบบสองสภานั้น มีประวัติความเป็นมาอันยาวนานแต่ละประเทศ ต่างก็อาศัยมูลเหตุของการกำหนดให้มีวุฒิสภาที่แตกต่างกันออกไป ตามความจําเป็นและเหมาะสมของประเทศตน เริ่มตั้งแต่การให้มีสภาขุนนางของประเทศอังกฤษ เนื่องมาจากวิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในอดีต และในประเทศรัฐรวมอย่าง สหรัฐอเมริกาและเยอรมนี ต่างก็มีความจําเป็นในการมีสองสภาเนื่องจากลักษณะการก่อกำเนิดรัฐ และประเทศซึ่งเป็นรัฐเดี่ยว ต่างก็ได้นําระบบสองสภาไปใช้โดยอาศัยวัตถุประสงค์ทางกลไกที่แตกต่างกันไป เช่น วุฒิสภาในฐานะตัวแทน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศฝรั่งเศส วุฒิสภาในฐานะเป็นตัวแทนของประชาชน ในประเทศญี่ปุ่น และ ประเทศไทย 2) ในประเทศที่ใช้รูปแบบรัฐสภาแบบสองสภาแต่ละประเทศล้วนแต่มีแนวโน้ม ที่ต้องการพัฒนารูปแบบ และวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ต่างไปจากประเทศไทย ที่แม้จะเคยกำหนดรูปแบบ วิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาโดยการเลือกตั้งโดยตรงมาแล้วแต่กลับมีการเปลี่ยนแปลง ให้กลับมาใช้รูปแบบการเลือกกันเองแบบไขว้ระหว่างผู้แทนกลุ่มสาขาอาชีพต่าง ๆ ที่ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา อีกทั้งในระยะเวลา 5 ปี แรกของการใช้รัฐธรรมนูญ ยังกำหนดให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้งอีกด้วย 3) วิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ยังคงมีปัญหาในทางหลักการหลายประการ ทั้งปัญหาความไม่สอดคล้องกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของสมาชิกวุฒิสภา ที่มาจากการแต่งตั้งและปัญหาความไม่สอดคล้องกับหลักการเป็นผู้แทนปวงชน ของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกกันเองแบบไขว้ ระหว่างผู้แทนกลุ่มสาขาอาชีพที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง เพราะการที่จะสะท้อนถึงการเป็นผู้แทนปวงชนได้อย่างแท้จริง ก็ต่อเมื่อระบบการเลือกตั้งมีคะแนนสากล กล่าวคือ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะต้องเป็นไปอย่างกว้างขวางที่สุด ไม่ใช่จํากัดสิทธิเฉพาะผู้สมัครรับเลือกตั้งด้วยกันเอง 4) จึงเสนอรูปแบบวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา ให้มีความเชื่อมโยงกับประชาชน มีความหลากหลายของบุคคล ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาอาชีพ มีความเป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงทางการเมือง โดยการกำหนดให้สมาชิกวุฒิสภาแห่งราชอาณาจักรไทยมาจาก “การเลือกตั้งโดยตรง” ของประชาชน โดยกำหนดเขตพื้นที่ ทั้งประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง และ กำหนดคุณสมบัติผู้สมัครรับเลือกตั้งให้มาจากกลุ่มผู้แทนสาขาอาชีพต่าง ๆ ที่กำหนดไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.33en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสมาชิกวุฒิสภา--ไทยth_TH
dc.subjectวุฒิสภา--ไทย--การเลือกตั้งth_TH
dc.subjectรัฐธรรมนูญ--ไทยth_TH
dc.titleปัญหาเกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560th_TH
dc.title.alternativeProblems on the selection of senators under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E.2560th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2018.33-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.33en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research purposes to: (1) study the concepts, theory, and development of the senate; (2) study the concepts, theory, and means for acquisition of senators, by comparing with overseas countries; (3) analyze the problems regarding acquisition of senator and various conditions causing problems; (4) propose the suitable suggestion for determination of the rules on acquisition of Thai senators. This qualitative research focuses on documentary research. The search and collection were done on books, textbooks, documents, constitutions, and academic papers in relation to senates, in the aspect of acquisitions of senators and authorities of senates in Thailand and overseas countries, i.e., The United Stated of America, England, Germany, France, and Japan. The results indicated that: (1) There is a long history of the bicameral system and each country relies on the reasons for determining different senates pursuant to necessity and suitability in the country, beginning from the establishment of England’s House of Lord due to the history and domestic evolution. The multiple-state countries such as The United States of America and Germany necessarily require bicameral system due to the nature of their state establishment and the single-state countries employ the bicameral system for the different mechanical objectives, e.g., the senate acting as the representative of local administrative organization of France, the senate acting as the representative of peoples in Japan and Thailand; (2) Each country employing the bicameral system tends to require the development of forms and the means to acquire the senators which are more democratic but different from Thailand which used to determine the forms to acquire the senators by means of direct election but it was finally changed to cross election among the representatives from various professions who become the candidate of the senator election. Furthermore, within the first 5 years, it was specified that the senators must come from designation; (3) the means to acquire the senators under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 (A.D. 2017) remain having several principle issues, regardless of the issue regarding inconsistency with the democratic administration of the senators designated and inconsistency with the principles of being peoples’ representative of the senators elected by cross election among the representatives from various professions who become the candidate of the senator election. Reflecting the actual ability to become the peoples’ representative requires universal suffrage to be used in election system, i.e., the range of persons entitled to vote must be extremely inclusive and must not be solely limited for the candidates; (4) it was proposed that the mean of acquisition of senators of the Kingdom of Thailand which is associated with the peoples, consisted of diversity of experts in each professional field, and independent from political intervention, must be “Direct Election”. The entire area of the country must be defined as an electoral constituency and the qualified candidates for election must be the representatives coming from the prescribed professional groups.en_US
dc.contributor.coadvisorสิริพันธ์ พลรบth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib161726.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons