Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศศิธร แปลงไธสง, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-27T02:02:01Z-
dc.date.available2023-04-27T02:02:01Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5638-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงบ้านน้อย ตาบลจันดุม 2) การส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน 4) ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยเงื่อนไขที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามหลักสูตรการดำรงชีวิตตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง และ 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักสูตร การดำรงชีวิตตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 47.73 ปี มีสถานภาพสมรส เกษตรกรส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า มีอาชีพเกษตรกรรม มีรายได้เฉลี่ย 5,890.0 บาท มีระยะเวลาในการประกอบอาชีพ เฉลี่ย 23.07 ปี มีพื้นที่ถือครองต่ำกว่า 10 ไร่ และลักษณะการถือครองเป็นของตนเอง มีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร วิทยุโทรทัศน์ จากการประชุม และการฝึกอบรม /สัมมนา 2).การส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า เกษตรกรทุกรายได้รับการเรียนรู้จากทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาตนเองและครัวเรือนในการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และการเรียนรู้เสริมจากการศึกษาดูงานจากบุคคลต้นแบบ กลุ่มต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ 3).เกษตรกรมีการนาผลที่ได้จากาการเรียนรู้ตามหลักสูตร “การดำรงชีวิตตามวิถีเศรษฐกิจ พอเพียง” ไปใช้ในชีวิตประจำวันอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า เกษตรกรมีการนำไปปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุดด้านเงื่อนไขการมีคุณธรรม รองลงมาคือ ด้านการมีภูมิคุ้มกันที่ดี ด้านความมีเหตุผล ด้านเงื่อนไขการมีองค์ความรู้ และมีการนำไปปฏิบัติน้อยที่สุดในด้านความพอประมาณ 4).ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยเงื่อนไขที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามหลักสูตร “การดำรงชีวิตตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ในด้านผู้จัดการเรียนรู้ พบว่า เกษตรกรเกือบทั้งหมด เห็นว่าปัจจัยเงื่อนไขสำคัญ คือ การให้เวลาของผู้จัดการเรียนรู้ ส่วนด้านวิธีการเรียนรู้ เกษตรกรเกือบทั้งหมด เห็นว่าปัจจัยเงื่อนไขสำคัญ คือ การให้การเรียนรู้จากการได้ปฏิบัติจริง 5).ปัญหาของเกษตรกรต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักสูตร “การดำรงชีวิตตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า เกษตรกรประสบปัญหาเนื้อหาขาดรายละเอียดของการปฏิบัติ และการจัดกิจกรรมเรียนรู้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.20-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง--เกษตรกรรมth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง--ไทย--บุรีรัมย์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้th_TH
dc.titleการส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบ้านน้อย ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeThe learning extension of self-sufficiency economy in Ban Noi, Chandum Sub-district, Phlapphla Chai District, Buriram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.20-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1. personal data of Baan Noi Sufficiency Economy group’s members, Chan Dum Sub-district; 2. sufficiency economy philosophy learning promotion; 3. sufficiency economy philosophy applied to daily life; 4. opinion about condition factors contributing to the livelihood following way of sufficiency economy philosophy course learning; and 5. Problems and suggestions of farmers towards learning promotion according to the livelihood followed way of sufficiency economy philosophy course learning. Population of this research was 30 members of Baan Noi sufficiency economy group, Village No. 10, Chan Dum Sub-district, Phlapphla Chai District, Buriram Province. Data were collected from farmers who joined project and were members of Baan Noi sufficiency economy group. The tools used to collect data were questionnaire and public forums. Data were analyzed by using computer to find frequencies, percentages, maximum, minimum, means and standard deviation. The research revealed that 1).most of farmers were female, maximum aged at 47.73 years old, married, completed primary education or below, did farming, earned average income 5,890 baht, had average 23.07 years of agricultural experience, owned less than 10 rais of land, had information perception from agricultural extension workers, television, seminars and workshops. 2).About sufficiency economy philosophy learning promotion, all members had learned from self-developed and family developing activities in income gaining, expenses reducing and additional learning from visiting study of role model, group model and community model.Farmers had applied knowledge from the livelihood following way of sufficiency economy philosophy course learning to daily life at high level. 3).When consider by aspect, the research found that farmers had applied knowledge at highest level in integrity condition, followed by good self-immunity, reasonableness, intelligence condition and they had applied knowledge at lowest level in moderation. 4).While opinion about condition factors contributing to the livelihood following way of sufficiency economy philosophy course learning, the research found that almost of farmers had given time to learning organizer and almost of them had learned from practicing. 5).About problems of farmers towards the livelihood following way of sufficiency economy philosophy course learning, the research revealed that farmers had faced practicing without particulars and learning activities providing.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148588.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons