Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5662
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤษณา รุ่งโรจน์วณิชย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ธีรทัศน์ คอนทรัพย์, 2526- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-04-27T07:24:55Z | - |
dc.date.available | 2023-04-27T07:24:55Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5662 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานการออกใบอนุญาตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายของสานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1-8 ดังนี้ (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมของเจ้าหน้าที่ (2) การดำเนินงานการออกใบอนุญาตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย (3) ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ต่อสภาพแวดล้อมในสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานการออกใบอนุญาต ผลการวิจัยพบว่า (1) เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุเฉลี่ย 34.39 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอายุรับราชการเฉลี่ย 6.09 ปี มีประสบการณ์การออกใบอนุญาตเฉลี่ย 2.90 ปี มีบุคลากรในการออกใบอนุญาตเฉลี่ย 2 คนต่อสานักงาน (2) เจ้าหน้าที่ทั้งหมดลงเลขที่รับและพิมพ์ใบคำขอ/คำขอต่อใบอนุญาต เจ้าหน้าที่ส่วนมากร้อยละ 87.2 ตรวจสถานที่ประกอบการ (กรณีขอใบอนุญาตใหม่) แต่ร้อยละ12.8 ไม่ปฏิบัติ เนื่องจากสารวัตรเกษตรมีไม่เพียงพอ เจ้าหน้าที่ทั้งหมดดำเนินการออกเลขที่ใบอนุญาต จัดพิมพ์ใบอนุญาต ทาบันทึกเสนอผู้อานวยการเพื่อลงนาม การออกใบเสร็จรับเงินให้เจ้าหน้าที่การเงินรับชาระค่าธรรมเนียมและออกใบเสร็จรับเงิน การจัดส่งใบอนุญาต เจ้าหน้าที่ร้อยละ 97.7บันทึกข้อมูลใบเสร็จรับเงินลงในฐานข้อมูล แต่ร้อยละ 2.3ไม่ปฏิบัติงานเนื่องจากรอแฟ้มเสนอผู้อำนวยการลงนามอีกวันถึงจะบันทึกข้อมูลและเจ้าหน้าที่ทั้งหมดถ่ายสำเนาใบอนุญาต การจัดเรียงใบอนุญาตและใบเสร็จรับเงิน การเก็บเอกสารหลักฐานตามลำดับ การจัดส่งใบอนุญาต เจ้าหน้าที่ทั้งหมดพิมพ์ที่อยู่และนาใบอนุญาตใส่ซองแต่ร้อยละ 97.7 บันทึกใบรับฝากไปรษณีย์ ร้อยละ 2.3 ให้ธุรการดำเนินการจัดส่ง (3) ความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง เป็นลำดับดังนี้ 1) ด้านสภาพแวดล้อมในการทางาน 2) ด้านความก้าวหน้าในการทำงาน 3) ด้านรายได้และสวัสดิการ (4) ปัญหาการดำเนินงานการออกใบอนุญาตอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านภาวะผู้นำของหัวหน้างานการออกใบอนุญาต ส่วนปัญหาด้านงบประมาณ คือ การจัดสรรงบประมาณด้านการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ และครุภัณฑ์ ปัญหาด้านอุปกรณ์ เครื่องมือ และเทคโนโลยี คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทำงาน และปัญหาด้านเจ้าหน้าที่และบุคลากรผู้ออกใบอนุญาต คือ ความรู้ ความเข้าใจในระเบียบและข้อบังคับในการออกใบอนุญาต อยู่ในระดับปานกลาง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.84 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | วัตถุอันตราย--ใบอนุญาต | th_TH |
dc.title | การดำเนินงานการออกใบอนุญาตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1-8 | th_TH |
dc.title.alternative | The office of agricultural research and development region 1-8's operation in issuing permits to possess hazardous materials | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2015.84 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study the following aspects of the Office of Agricultural Research and Development Region 1-8’soperations in issuing permits to possess hazardous materials: (1) the demographic data of the related personnel; (2) the work process of issuing permits to possess hazardous materials; (3) the personnel’s satisfaction with their work environment and facilities; and (4) problems for improving the permit issuance work process. The study population consisted of 86 employees of the Office of Agricultural Research and Development Region 1-8 and data were collected from the entire study population. Data were collected using a questionnaire and analyzed using computer software to calculate frequency, percentage, minimum and maximum values, mean and standard deviation. The results showed that 1) the majority of personnel were female, average age 34.39, educated to bachelor’s degree level, had worked as a government employee for an average of 6.09 years and had an average of 2.90 years experience in permit issuance work. Each office had an average of 2 personnel who were responsible for issuing permits to possess hazardous materials. 2) All the personnel entered in the registration numbers and printed out permit request forms or permit renewal request forms. Most of them (87.2%) inspected the permit requester’s premises (in the case of new permits) but 12.8% did not because of the limited number of agricultural inspectors. All the personnel issued permit numbers, printed out permits and made records to submit to their director for approval. The finance division workers were in charge of receiving the permit fees and issuing receipts. When sending a permit to the person who requested it, 97.7% of the personnel entered the receipt data in the database right away, but 2.3% waited another day for the file to be returned with the director’s signature. All of the personnel made photocopies of the permits, filed the permits and receipts and collected and filed the required documents from people who requested permits. For sending out the permits, all the personnel printed the receiver’s address on the envelope and put the permit in the envelope themselves, and 97.7% also filled out the post office form but 2.3% handed it to an assistant to mail. 3) Most of the personnel were satisfied to a medium level with their work environment, opportunities for advancement, remuneration and benefits. However, most reported a high level of problems with 3 areas of permit issuance work: a. leadership of the division head; b. allocation of budget for purchasing required materials and equipment; and c. insufficiency of the software and office technology available. The personnel reported a medium level problem with the lack of knowledge about the relevant permit-issuance rules and regulations among the personnel themselves. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
150217.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 26.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License