Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/569
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมพร พุทธาพิทักษ์ผล | th_TH |
dc.contributor.author | พวงผกา มาลีวัตร, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T04:31:06Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T04:31:06Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/569 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการสารสนเทศของเจ้าของสุนัขระหว่างที่มาใช้บริการหน่วยฉุกเฉินและสัตว์ป่วยวิกฤติของโรงพยาบาลสัตว์และผลลัพธ์ของสารสนเทศที่เจ้าของสุนัขใช้เพื่อเติมเต็มความต้องการของตน ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์เจ้าของสุนัข จำนวน 20 คน ระหว่างที่มาใช้บริการหน่วยฉุกเฉินและสัตว์ป่วยวิกฤติของโรงพยาบาลสัตว์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน โดยประยุกต์ทฤษฎีเซ็นส์เมกกิงของเบรนดา เดอร์วิน และใช้เทคนิคเหตุวิกฤติ จำแนกเหตุวิกฤติออกเป็น 4 เหตุการณ์ตามลำดับ ได้แก่ ช่วงเวลาเมื่อเกิดเหตุวิกฤติ ช่วงเวลาขณะหาห้องปฏิบัติการของหน่วยฉุกเฉินและสัตว์ป่วยวิกฤต ช่วงเวลาระหว่างการวินิจฉัยโรคเพื่อให้การรักษา/ผ่าตัด และช่วงเวลาภายหลังได้รับการรักษา/ผ่าตัด ผลการวิจัย พบว่า เจ้าของสุนัขส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 90) มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 55) ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว (ร้อยละ 40) และ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 10,000-20,000 บาท (ร้อยละ 55) ในช่วงเวลาเมื่อเกิดเหตุวิกฤติเจ้าของสุนัขต้องการสารสนเทศเกี่ยวกับการไปสถานพยาบาลสัตว์ที่ใกล้ที่สุด รวมทั้งสารสนเทศของสถานพยาบาลสัตว์ที่พร้อมให้บริการ วิธีปฐมพยาบาลสุนัขเบื้องต้นเมื่อเกิดเหตุวิกฤติ และวิธีปฏิบัติและปฐมพยาบาลสุนัขซึ่งอยู่ในภาวะวิกฤติ เมื่อเดินทางถึงโรงพยาบาลสัตว์เจ้าของสุนัขต้องการไปถึงหน่วยฉุกเฉินและสัตว์ป่วยวิกฤติโดยเร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ในช่วงเวลาระหว่างรอการวินิจฉัยและการรักษาเจ้าของสุนัขต้องการรายละเอียดขั้นตอนของการวินิจฉัยโรคและแผนการรักษา และช่วงเวลาภายหลังได้รับการรักษาเจ้าของสุนัขคาดว่าต้องการสารสนเทศเกี่ยวกับการดูแลสุนัข การรักษาต่อเนื่อง และแผนการให้การรักษาในอนาคต | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน--บริการสารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริการสารสนเทศ--การศึกษาการใช้ | th_TH |
dc.subject | สัตวบาล | th_TH |
dc.subject | สุนัข | th_TH |
dc.title | ความต้องการสารสนเทศของเจ้าของสุนัขระหว่างที่มาใช้บริการหน่วยฉุกเฉินและสัตว์ป่วยวิกฤติ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน | th_TH |
dc.title.alternative | Information needs of dog owners during their visits to a critical care unit : a case study of Kasetsart Veterinary Teaching Hospital, Bangkhen | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The aims of this qualitative study are to investigate information needs of dog owners during their visits to a critical care unit of an animal hospital and the outcomes of information the owners used to fill in their needs. Interview of twenty dog owners during their visits to the critical care unit, Kasetsart Veterinary Teaching Hospital, Bangkhen, were conducted. Brenda Dervin’s the Sense-Making theory was applied along with the critical incident technique. The critical incident was divided into four successive events: facing the critical situation; bringing injured dogs to the critical care unit; waiting for the diagnosis and the medical and/or surgical treatment; and after the medical and/or surgical treatment. It was found that the majority of the interviewees were female (90%) with bachelor’s degrees (55%). Forty percent of the respondents were entrepreneurs and fifty-five percent had income of 10,000-20,000 baht per month. Facing the critical situation, the dog owners needed information about access to the nearest animal hospital, first aids at the critical events most of the dog owners needed information on the animal hospital available, first aid and how to deal with dogs with critical injuries, upon arrival at the hospital, the owners needed to get access to the critical care unit as soon as possible. While waiting for the diagnosis and treatment, the owners needed detailed information about the diagnosis and treatment plan. After the treatment, the owners wanted to be informed about dog caring, patient recovery and future treatment plans. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นริศ เต็งชัยศรี | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (3).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License